โครงการฝึกอบรม แกมนำส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตใจ
ชื่อโครงการ | โครงการฝึกอบรม แกมนำส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตใจ |
รหัสโครงการ | 05/2568 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรม อสม.บ้านสว่างอารมณ์ |
วันที่อนุมัติ | 25 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 10,080.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางหิรัญญา ศิริพงศ์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายรุ่งโรจน์ ศักดิ์มรกต |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลป่าขาด อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.241,100.469place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากสภาพลังคมที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้คนในชุมชนต้องเผชิญกัญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสังคมในปัจจุบัน ทั้งในด้านความคิด อารมณ์ พฤติกรรม ค่านิยมต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดความเครียด วิตกกังวล ความคับข้องใจ แยกตัวออกจากสังคม ขาดสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัว และชุมชน เกิดความท้อแท้ เบื่อหน่ายในชีวิต ประกอบกับที่ต้องเผชิญกับรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบใหม่ในสังคมปัจจุบัน ต้องออกจากงาน มีรายได้ลดลง ภาวะสุขภาพเสื่อมลง มีโรคทางกายภาพเพิ่มขึ้น สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญ ที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจของบุคคลและชุมชนทั้งสิ้น หากตนเอง หรือคนในชุมชน ไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุคคลใกล้ชิดด้วยแล้วยิ่งจะส่งเสริมให้คนในชุมชนมีภาวะซึมเศร้าและความรู้สึกความมีคุณค่าในตนเองลดลง สิ้นหวัง แยกตัวออกจากสังคม เกิดความผิดปกติทางจิตใจ ซึ่งส่งผลอย่างรุนแรง อาจเป็นอันตรายต่อ ชีวิตตนเองได้ โดยข้อมูลของกรมสุขภาพจิต รายงานสถิติการฆ่าตัวตายของประเทศไทย ปี 2566 พบว่า คนไทย เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตาย 5,172 คน หรือเท่ากับ 7.94 ต่อแสนประชากร เฉลี่ยวันละ 14 คน หรือเสียชีวิต 1 คน ในทุก 2 ชั่วโมง และคนไทยพยายามฆ่าตัวตาย 31,110 หรือเท่ากับ 47.74 ต่อแสนประชากร เฉลี่ยวันละ 85 คน หรือมีผู้พยายามฆ่าตัวตาย 7 คน ในทุก 2 ชั่วโมง ซึ่งความเสี่ยงเหล่านี้ นับวันจะทวีขึ้นรุนแรงมากยิ่งขึ้นต่อไป ดังนั้น ชมรม อสม. บ้านสว่างอารมณ์ จึงเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาสุขภาพจิต จึงได้จัดแกนนำ ส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตใจ เพื่อให้ความรู้ทางด้านสุขภาพจิต เพื่อนำไปส่งเสริมช่วยเหลือดูแลคนในชุมชน ให้มี สุขภาพจิตที่ดี ให้มีคุณภาพชีวิตครอบครัว ชุมชนที่เป็นสุข
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ความเข้าใจปัญหาด้านสุขภาพจิตและวิธีการแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตอย่างถูกวิธี
|
||
2 | 2. เพื่อพัฒนาแกนนำ มีศักยภาพด้านสุขภาพจิต ในการไปช่วยประชาชน มีปัญหาสุขภาพจิตลดลง
|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ความเข้าใจปัญหาด้านสุขภาพจิตและวิธีการแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตอย่างถูกวิธี |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 2. เพื่อพัฒนาแกนนำ มีศักยภาพด้านสุขภาพจิต ในการไปช่วยประชาชน มีปัญหาสุขภาพจิตลดลง |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้
- จัดทำโครงการเสนอเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ
- จัดประชุมชี้แจงผู้ที่เกี่ยวข้อง วิทยากร แกนนำในการออกกำลังกาย
- จัดเตรียมสถานที่ /วัสดุ/อุปกรณ์
- ประชาสัมพันธ์ คัดเลือก แกนนำ อสม. และผู้สนใจ เข้าร่วมโครงการ
- ดำเนินโครงการ
- ประเมินผลและสรุปผลโครงการ
1.ผู้เข้าร่วมฝึกอบรมมีความรู้ศักยภาพการจัดการสุขภาพจิต ในการนำความรู้ไปช่วยเหลือ ส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน 2.มีแกนนำทางด้านสุขภาพจิตในชุมชน ในการดูแลปัญหาสุขภาพจิต
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 มี.ค. 2568 10:01 น.