กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพตำบลป่าขาด
รหัสโครงการ 09/2568
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม.รพ.สต.ป่าขาด
วันที่อนุมัติ 25 กุมภาพันธ์ 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2568
งบประมาณ 14,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอินทิรา คงเมือง
พี่เลี้ยงโครงการ นายกิตติพงษ์ มุสิกะพันธุ์
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลป่าขาด อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.241,100.469place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากการสำรวจสถิติประชากรไทย ของสำนักทะเบียนการปกครอง เมื่อเดือนธันวาคม 2566 มีจำนวนทั้งสิ้น 63,079,765 คน โดยแยกตามอายุพบว่า ประชากรกลุ่มวัยรุ่นมีจำนวนมาก ใน กลุ่มมอายุ 10-19 ปี มีจำนวน 9,420,575 คน โดยมีเพศหญิงจำนวน 4,602,299 คน 4,818,276 คน ซึ่งวัยรุ่นเป็นวัยที่มีความสำคัญเนื่องจากเป็นช่วงวัยของการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้าน ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมเพื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงถือเป็นสิ่งสำคัญ ละอาจกล่าวได้ว่าเป็นวิกฤตแห่งชีวิตหากไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง เหมาะสม หรือการได้รับข้อมูล การสนับสนุนจากครอบครัวและบุคคลรอบช้างก็อาจทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงไปในทางเหมาะสมได้เช่นกันจากค่านิยมในสังคมไทยในชนบทและชาวเขาที่นิยมส่ง บุตรสาวไปประกอบอาชีพค้าประเวณี เพื่อเป็นการหารายได้จุนเจือครอบครัว สตรีวัยรุ่นกลุ่มนี้จึงจัดว่า เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการตกเป็นเหยื่อของขบวนแก็งโซเชียล ความรู้ในเรื่องเพศและการป้องกันการ ตั้งครรภ์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การถูกล่อลวงให้ใช้สารเสพติด เรื่องโรคเรื้อรัง จึงมีมาก ดังนั้นการได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและการสนับสนุนจากครอบครัวและบุคคลรอบข้าง บุคลากรทางการแพทย์และการศึกษาที่ต้องเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ทางสังคมและ เศรษฐกิจปัจจุบันที่มีผลต่อสตรีวัยรุ่น ในการให้ความรู้ข้อมูลข่าวสารเพื่อให้เกิดการปรับตัว และเกิด พฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะเพื่อลดปัญหาทางสุขภาพต่างๆที่อาจเกิดขึ้นได้ เช่น การถูกล่อลวงเพื่อ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปัญหาการดูแลสุขอนามัยที่ไม่เหมาะสม ปัญหาการคบเพื่อนต่างเพศ
การบริโภคไม่เหมาะสม เป็นต้น อีกทั้งปัญหาการปรับตัวของวัยรุ่นที่ขาดความรู้ ประสบการณ์และขาดการ สนับสนุนจากผู้ปกครอง สถาบันการศึกษาและบุคลากรทีมสุขภาพ อาจนำไปสู่การมีพฤติกรรมเสียงทาง สุขภาพ เช่น ปัญหาด้านอนามัยเจริญพันธุ์ เพศสัมพันธ์ การใช้สารเสพติด ปัญหาการคบเพื่อน เป็นต้น
การเตรียมความพร้อมเพื่อพัฒนาทักษะในการดูแลตนเองจะช่วยสร้างความตระหนักและปลุกจิตสำนึกให้แก่ วัยรุ่น เพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่นที่มีผลต่อสุขภาพได้ จากการประเมินและค้นหาปัญหาของวัยรุ่นในศูนย์ชีวิตใหมโดยการสอบถามจากผู้บริหารและ กลุ่มสตรีที่อยู่ในศูนย์ชีวิตใหม่ พบว่ามีปัญหาเกี่ยวกับการขาดความรู้ในเรื่องของเปลี่ยนแปลงทางด้าน ร่างกาย การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล ทักษะการใช้ชีวิต ซึ่งคณะผู้จัดทำโครงการฯและ ผู้บริหารศูนย์ชีวิตใหม่ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้ร่วมกันจัดทำโครงการ วัยรุ่นวัย ใส ใส่ใจสุขภาพ เพื่อเป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนตามพัฒนาการด้านต่างๆ สุขอนามัยการ ปฏิบัติตัว และทักษะการใช้ชีวิตโดยให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เมื่อสิ้นสุดโครงการผู้เข้าร่วม โครงการมีความรู้ความเข้าใจสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ปรับตัวให้ผ่านภาวะวิกฤตและก้าวเข้าสู่ วัยผู้ใหญ่ได้อย่างมีคุณค่าต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1 การเปลี่ยนแปลงตามพัฒนาการด้านต่างๆในวัยรุ่น

 

2 สุขอนามัยและการปฏิบัติตัวในวัยรุ่น

 

3 ทักษะชีวิตทางสังคม

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
รวม 0 0.00 0 0.00

1.จัดทำโครงการเสนอคณะกรรมการโรงเรียนและผู้บริหารโรงเรียน 2.จัดประสานสถานที่และวิทยากร จัดหาวัสดุอุปกรณ์ 3.ดำเนินการอบรมตามตาราง 4.สรุปผลการดำเนินการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ภายหลังสิ้นสุดโครงการ คาดว่าวัยรุ่นหมู่ที่1-3ตำบลป้าขาด ที่เข้าร่วมโครงการ สามารถนำ 2.ความรู้การเปลี่ยนแปลงตามพัฒนาการด้านต่างๆ สุขอนามัย การปฏิบัติตัว และทักษะชีวิตทางสังคมในวัยรุ่นไปใช้ในชีวิตประจำวัน
3.สามารถเผยแพร่แก่บุคคลรอบข้างที่อยู่ในวัยเดียวกันได้ และจะเป็นผลที่เกิดขึ้นในระยะยาว

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 มี.ค. 2568 10:21 น.