กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดตำบลดาโต๊ะ ”
ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวมาสือนะ นาแว




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดตำบลดาโต๊ะ

ที่อยู่ ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L8421-01-03 เลขที่ข้อตกลง 03

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดตำบลดาโต๊ะ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดาโต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดตำบลดาโต๊ะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดตำบลดาโต๊ะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L8421-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,730.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดาโต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

งานอนามัยแม่และเด็กเป็นบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานที่สำคัญของการพัฒนาคุณภาพประชากร ซึ่งเริ่มตั้งแต่การดูแลครรภ์จนถึงหลังคลอด เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดที่ปลอดภัยทั้งแม่และเด็ก ตั้งแต่การดูแลทารกในครรภ์ที่สมบูรณ์ การดูแลแม่ขณะตั้งครรภ์ให้ปลอดภัยป้องการเกิดภาวะเสี่ยง 5 โรค หรือในรายถ้ามีภาวะเสี่ยงให้ได้รับการติดตามดูแลที่ถูกต้อง เพื่อการคลอดที่ปลอดภัยอย่างมีคุณภาพ มารดาและทารกปลอดภัยและมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง โดยใช้หลัก ฝากครรภ์เร็วทันทีที่รู้ว่าตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ฝากครรภ์ต่อเนื่องครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ มารดาทารกหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ มารดาที่มีภาวะเสี่ยง 5 โรค (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไทรอยด์ โรคหัวใจ และโรคตกเลือดหลังคลอด)ได้รับการดูแลจากทีมสาธารณสุขอย่างต่อเนื่องและรวดเร็ว มารดาที่ขาดนัดได้รับการติดตามโดยเร่งด่วน เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกินขณะตั้งครรภ์ได้อย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย และต่อเนื่องถึงการให้การดูแลเด็กในช่วงปฐมวัย ซึ่งเป็นทรัพยากรอันทรงคุณค่าและเป็นอนาคตของชาติ ควรให้การเลี้ยงดูให้เจริญเติบโตและมีพัฒนาการที่สมวัย ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา รวมถึงควรมีการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
งานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดาโต๊ะ พบว่าหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 76.58 หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้งตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 70หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 8 ครั้งตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 14.95มารดาและทารกหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 66.4 หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง ร้อยละ 18.5 หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูง 5 กลุ่มโรค ดังนี้ โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ เบาหวานขณะตั้งครรภ์ ไทรอยด์ เสี่ยงตกเลือด จำนวน 20ราย แม้ว่าการดำเนินงานในปีที่แล้วมีแนวโน้มดีขึ้น แต่ปัจจัยหนึ่งที่อาจทำให้ผลงานลดลง คือ การย้ายถิ่นออกฐานไป เป้าหมายหญิงตั้งครรภ์ที่เปลี่ยนไปทุกปีคืออัตราการตั้งครรภ์ในอายุมากกว่า 35 ปี และการตั้งครรภ์บุตรคนที่ 4 เพิ่มมากขึ้นแนวทางการดูแลและป้องกันการเกิดปัญหาดังกล่าว คือต้องให้การดูแลที่มีคุณภาพ หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์คุณภาพและเสริมทักษะการดูแลหลังคลอดที่มีคุณภาพ เพื่อให้ทารกเกิดมามีพัฒนาการตามวัยและการมีส่วนร่วมของชุมชนมีเครือข่ายที่เข้มแข็ง
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดาโต๊ะ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กและมารดาหลังคลอดตำบลดาโต๊ะ ประจำปี 2568 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี และยังเป็นการสร้างสายใยรักความผูกผันของครอบครัวโดยชุมชน สมาชิกครอบครัวมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาแบบยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์
  3. เพื่อลดจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง
  4. เพื่อให้ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย
  5. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ สามีและญาติ มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพในระยะตั้งครรภ์ ระยะก่อนคลอด และระยะหลังคลอด
  6. เพื่อให้มารดาหลังคลอดมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย
  7. เพื่อเพิ่มปริมามารดาหลังคลอดที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สร้างกระแส ประชาสัมพันธ์ แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์
  2. อบรมให้ความรู้ แก่หญิงตั้งครรภ์สามีหรือญาติ
  3. จัดอบรมให้ความรู้แก่มารดาหลังคลอด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 70
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพได้แก่ ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ และได้คลอดในโรงพยาบาล 2. หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการดูแลตลอดระยะของการตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ 3.ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ลูกสมบูรณ์ และมีพัฒนาการสมวัย
4.หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์และสามารถดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์ได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 80
80.00 90.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์มากกว่าร้อยละ 80
80.00 90.00

 

3 เพื่อลดจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางน้อยกว่า ร้อยละ 10
0.00

 

4 เพื่อให้ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : อัตรามารดาตายและเด็กเกิดไร้ชีพเป็น 0
0.00

 

5 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ สามีและญาติ มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพในระยะตั้งครรภ์ ระยะก่อนคลอด และระยะหลังคลอด
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ สามี และญาติ มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพในระยะตั้งครรภ์ ระยะก่อนคลอด และระยะหลังคลอดร้อยละ 90
0.00

 

6 เพื่อให้มารดาหลังคลอดมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : เพื่อให้มารดาหลังคลอดมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทยร้อยละ 80
0.00

 

7 เพื่อเพิ่มปริมามารดาหลังคลอดที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน
ตัวชี้วัด : มารดาหลังคลอดเลี้ยงลูกด้วยนมอย่างน้อย 6 เดือน ร้อยละ 50
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 70
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (2) เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ (3) เพื่อลดจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง (4) เพื่อให้ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย (5) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ สามีและญาติ มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพในระยะตั้งครรภ์ ระยะก่อนคลอด และระยะหลังคลอด (6) เพื่อให้มารดาหลังคลอดมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย (7) เพื่อเพิ่มปริมามารดาหลังคลอดที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สร้างกระแส ประชาสัมพันธ์ แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ (2) อบรมให้ความรู้ แก่หญิงตั้งครรภ์สามีหรือญาติ (3) จัดอบรมให้ความรู้แก่มารดาหลังคลอด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดตำบลดาโต๊ะ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L8421-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมาสือนะ นาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด