โครงการอบรมให้ความรู้การจัดการศพปลอดเชื้อ ปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้การจัดการศพปลอดเชื้อ ปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568 ”
หัวหน้าโครงการ
นายแวดาโอะ หะยีซาเม๊าะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก
พฤษภาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้การจัดการศพปลอดเชื้อ ปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 31/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 31 พฤษภาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมให้ความรู้การจัดการศพปลอดเชื้อ ปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้การจัดการศพปลอดเชื้อ ปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้การจัดการศพปลอดเชื้อ ปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 31 พฤษภาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในพื้นที่ตำบลสะเตงนอก มีประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม การอาบน้ำให้ศพ การห่อศพ การละหมาดญะนาซะฮ (ละหมาดให้ศพ) และการฝังศพถือเป็น ฟัรฎูกิฟายะฮ ซึ่งหากมีกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งจากชาวมุสลิมได้ทำหน้าที่แล้ว กลุ่มอื่นๆก็จะพ้นจากบาปไปด้วย แต่หากทุกคนละเลยไม่มีใครกระทำ ก็จะรับบาปกันทุกคน ถ้าผู้ตายเป็นผู้ชาย ผู้ที่ควรเป็นผู้อาบน้ำให้กับศพมากที่สุดก็คือผู้ที่ได้รับการสั่งเสียจากผู้ตายเองให้เป็นผู้อาบน้ำให้ หากไม่มีการสั่งเสียจากผู้ตาย ผู้อาบน้ำควรเป็นญาติสนิท เช่น บิดาของผู้ตายเพราะเป็นผู้ที่มีความผูกพันกับผู้ตายมากที่สุด ประสบการณ์ความรู้ความชำนาญเกี่ยวกับการจัดการศพมากกว่าลูก รองลงมาก็คือลูกชาย และลำดับต่อมาก็คือญาติผู้ใกล้ชิดตามลำดับความใกล้ชิด ถ้าผู้ตายเป็นผู้หญิง ผู้ที่ควรเป็นผู้อาบน้ำให้กับศพผู้ตายมากที่สุดคือผู้ที่ได้รับการสั่งเสียจากผู้ตายเอง ( ในหมู่ผู้หญิงด้วยกัน ) ให้เป็นผู้อาบน้ำให้ หากไม่มีการสั่งเสียจากผู้ตาย ผู้อาบน้ำเป็นญาติสนิท เช่น มารดาของผู้ตาย รองลงมาคือลูกสาว ลำดับต่อมาก็คือญาติผู้หญิงที่ใกล้ชิดตามลำดับ ซึ่งในปัจจุบันผู้คนส่วนใหญ่ยังไม่สามารถอาบน้ำศพและจัดการศพได้ถูกต้อง และถูกสุขลักษณะอนามัย เนื่องจากยังขาดความรู้ความเข้าใจ และวิธีปฏิบัติที่ถูกต้องในการอาบน้ำศพตามหลักศาสนาอิสลาม รวมทั้งเป็นการอนุรักษ์สืบสานและเสริมสร้างประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามทางศาสนาของท้องถิ่นให้ดำรงอยู่ต่อไป
ชมรมอีหม่ามตำบลสะเตงนอก จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในเรื่องดังกล่าวทั้งนี้เพื่อให้เยาวชนและประชาชนในพื้นที่ได้เรียนรู้ในเรื่องการจัดการศพตามหลักการศาสนาอิสลามอย่าง ถูกต้อง และถูกสุขลักษณะ ทั้งยังเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น จึงได้จัดโครงการอบรมให้ความรู้การจัดการศพตามวิถีอิสลามตามความต้องการของประชาชนในพื้นที่รวมทั้งเป็นประโยชน์แก่เยาวชนและประชาชนผู้มาอบรมสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่และสืบทอดไปยังคนรุ่นหลังต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้เยาวชนและประชาชนในตำบลสะเตงนอกได้รับความรู้ความเข้าใจในเรื่องการจัดการศพตามหลักศาสนาอิสลาม
- 2. เพื่อส่งเสริมและให้ความรู้วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องในการอาบน้ำศพที่ถูกสุขลักษณะ ปลอดเชื้อ และปลอดภัย
- 3. เพื่อให้เยาวชนและประชาชนในตำบลสะเตงนอกได้ร่วมทำกิจกรรมที่สืบสานประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามทางศาสนาให้ดำรงอยู่สืบไป
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
120
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เยาวชนและประชาชนในตำบลสะเตงนอกเข้าใจในเรื่องการจัดการศพตามหลักศาสนาอิสลาม
- เยาวชนและประชาชนในตำบลสะเตงนอกได้เรียนรู้วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องถูกสุขลักษณะอนามัยปลอดเชื้อ และปลอดภัย
- เยาวชนและประชาชนในตำบลสะเตงนอกร่วมสืบสานประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามทางศาสนาให้ดำรงอยู่สืบไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้เยาวชนและประชาชนในตำบลสะเตงนอกได้รับความรู้ความเข้าใจในเรื่องการจัดการศพตามหลักศาสนาอิสลาม
ตัวชี้วัด :
0.00
2
2. เพื่อส่งเสริมและให้ความรู้วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องในการอาบน้ำศพที่ถูกสุขลักษณะ ปลอดเชื้อ และปลอดภัย
ตัวชี้วัด :
0.00
3
3. เพื่อให้เยาวชนและประชาชนในตำบลสะเตงนอกได้ร่วมทำกิจกรรมที่สืบสานประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามทางศาสนาให้ดำรงอยู่สืบไป
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
120
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เยาวชนและประชาชนในตำบลสะเตงนอกได้รับความรู้ความเข้าใจในเรื่องการจัดการศพตามหลักศาสนาอิสลาม (2) 2. เพื่อส่งเสริมและให้ความรู้วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องในการอาบน้ำศพที่ถูกสุขลักษณะ ปลอดเชื้อ และปลอดภัย (3) 3. เพื่อให้เยาวชนและประชาชนในตำบลสะเตงนอกได้ร่วมทำกิจกรรมที่สืบสานประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามทางศาสนาให้ดำรงอยู่สืบไป
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมให้ความรู้การจัดการศพปลอดเชื้อ ปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายแวดาโอะ หะยีซาเม๊าะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้การจัดการศพปลอดเชื้อ ปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568 ”
หัวหน้าโครงการ
นายแวดาโอะ หะยีซาเม๊าะ
พฤษภาคม 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 31/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 31 พฤษภาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมให้ความรู้การจัดการศพปลอดเชื้อ ปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้การจัดการศพปลอดเชื้อ ปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้การจัดการศพปลอดเชื้อ ปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 31 พฤษภาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในพื้นที่ตำบลสะเตงนอก มีประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม การอาบน้ำให้ศพ การห่อศพ การละหมาดญะนาซะฮ (ละหมาดให้ศพ) และการฝังศพถือเป็น ฟัรฎูกิฟายะฮ ซึ่งหากมีกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งจากชาวมุสลิมได้ทำหน้าที่แล้ว กลุ่มอื่นๆก็จะพ้นจากบาปไปด้วย แต่หากทุกคนละเลยไม่มีใครกระทำ ก็จะรับบาปกันทุกคน ถ้าผู้ตายเป็นผู้ชาย ผู้ที่ควรเป็นผู้อาบน้ำให้กับศพมากที่สุดก็คือผู้ที่ได้รับการสั่งเสียจากผู้ตายเองให้เป็นผู้อาบน้ำให้ หากไม่มีการสั่งเสียจากผู้ตาย ผู้อาบน้ำควรเป็นญาติสนิท เช่น บิดาของผู้ตายเพราะเป็นผู้ที่มีความผูกพันกับผู้ตายมากที่สุด ประสบการณ์ความรู้ความชำนาญเกี่ยวกับการจัดการศพมากกว่าลูก รองลงมาก็คือลูกชาย และลำดับต่อมาก็คือญาติผู้ใกล้ชิดตามลำดับความใกล้ชิด ถ้าผู้ตายเป็นผู้หญิง ผู้ที่ควรเป็นผู้อาบน้ำให้กับศพผู้ตายมากที่สุดคือผู้ที่ได้รับการสั่งเสียจากผู้ตายเอง ( ในหมู่ผู้หญิงด้วยกัน ) ให้เป็นผู้อาบน้ำให้ หากไม่มีการสั่งเสียจากผู้ตาย ผู้อาบน้ำเป็นญาติสนิท เช่น มารดาของผู้ตาย รองลงมาคือลูกสาว ลำดับต่อมาก็คือญาติผู้หญิงที่ใกล้ชิดตามลำดับ ซึ่งในปัจจุบันผู้คนส่วนใหญ่ยังไม่สามารถอาบน้ำศพและจัดการศพได้ถูกต้อง และถูกสุขลักษณะอนามัย เนื่องจากยังขาดความรู้ความเข้าใจ และวิธีปฏิบัติที่ถูกต้องในการอาบน้ำศพตามหลักศาสนาอิสลาม รวมทั้งเป็นการอนุรักษ์สืบสานและเสริมสร้างประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามทางศาสนาของท้องถิ่นให้ดำรงอยู่ต่อไป ชมรมอีหม่ามตำบลสะเตงนอก จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในเรื่องดังกล่าวทั้งนี้เพื่อให้เยาวชนและประชาชนในพื้นที่ได้เรียนรู้ในเรื่องการจัดการศพตามหลักการศาสนาอิสลามอย่าง ถูกต้อง และถูกสุขลักษณะ ทั้งยังเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น จึงได้จัดโครงการอบรมให้ความรู้การจัดการศพตามวิถีอิสลามตามความต้องการของประชาชนในพื้นที่รวมทั้งเป็นประโยชน์แก่เยาวชนและประชาชนผู้มาอบรมสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่และสืบทอดไปยังคนรุ่นหลังต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้เยาวชนและประชาชนในตำบลสะเตงนอกได้รับความรู้ความเข้าใจในเรื่องการจัดการศพตามหลักศาสนาอิสลาม
- 2. เพื่อส่งเสริมและให้ความรู้วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องในการอาบน้ำศพที่ถูกสุขลักษณะ ปลอดเชื้อ และปลอดภัย
- 3. เพื่อให้เยาวชนและประชาชนในตำบลสะเตงนอกได้ร่วมทำกิจกรรมที่สืบสานประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามทางศาสนาให้ดำรงอยู่สืบไป
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 120 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เยาวชนและประชาชนในตำบลสะเตงนอกเข้าใจในเรื่องการจัดการศพตามหลักศาสนาอิสลาม
- เยาวชนและประชาชนในตำบลสะเตงนอกได้เรียนรู้วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องถูกสุขลักษณะอนามัยปลอดเชื้อ และปลอดภัย
- เยาวชนและประชาชนในตำบลสะเตงนอกร่วมสืบสานประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามทางศาสนาให้ดำรงอยู่สืบไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้เยาวชนและประชาชนในตำบลสะเตงนอกได้รับความรู้ความเข้าใจในเรื่องการจัดการศพตามหลักศาสนาอิสลาม ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อส่งเสริมและให้ความรู้วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องในการอาบน้ำศพที่ถูกสุขลักษณะ ปลอดเชื้อ และปลอดภัย ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | 3. เพื่อให้เยาวชนและประชาชนในตำบลสะเตงนอกได้ร่วมทำกิจกรรมที่สืบสานประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามทางศาสนาให้ดำรงอยู่สืบไป ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 120 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เยาวชนและประชาชนในตำบลสะเตงนอกได้รับความรู้ความเข้าใจในเรื่องการจัดการศพตามหลักศาสนาอิสลาม (2) 2. เพื่อส่งเสริมและให้ความรู้วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องในการอาบน้ำศพที่ถูกสุขลักษณะ ปลอดเชื้อ และปลอดภัย (3) 3. เพื่อให้เยาวชนและประชาชนในตำบลสะเตงนอกได้ร่วมทำกิจกรรมที่สืบสานประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามทางศาสนาให้ดำรงอยู่สืบไป
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมให้ความรู้การจัดการศพปลอดเชื้อ ปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายแวดาโอะ หะยีซาเม๊าะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......