กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและระงับโรคติดต่อภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลพังยาง ประจำปีงบประมาณ 2568
รหัสโครงการ 68-L5225-3-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลพังยาง
วันที่อนุมัติ 20 กุมภาพันธ์ 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2568 - 31 สิงหาคม 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2568
งบประมาณ 34,995.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวอุบล สวัสดิรักษา
พี่เลี้ยงโครงการ -
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลพังยาง อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.721,100.354place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 118 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ในปัจจุบันมีเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี มากกว่าร้อยละ 60 เป็นเด็กก่อนวัยเรียน เด็กก่อนวัยเรียนจำนวนกว่า 700,000 คน (ประชากรเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ประมาณ 3.9 ล้านคน เด็ก 1 - 4 ประมาณ 3. 2 ล้านคน) ต้องถูกฝากเลี้ยงไว้ในศ
50.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1.เพื่อให้ ผู้ปกครอง ได้รับความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่เกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลพังยาง ข้อที่ 2. เพื่อให้นักเรียนมีกระบอกน้ำใช้เป็นของตนเอง ให้เด็กล้างมือด้วยสบู่เหลวก่อนรับประทานอาหารและหลังจากเข้าห้องน้ำทุกครั้ง และใช้กระดาษเช็ดชู่ในการทำความสะอาด ช่วยลดการแพร่กระจายของแบคทีเรียและเชื้อโรค ข้อที่ 3. เพื่อให้ครูสามารถทำความสะอาดศูนย์และของเล่นเด็ก สัปดาห์ละ 1 วัน และทำความสะอาดห้องน้ำทุกวันส่งผลให้ผู้ปกครองและนักเรียนมีความมั่นใจถึงความสะอาดปลอดภัย

ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.ผู้ปกครอง  ร้อยละ 85 ได้รับความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อที่เกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลพังยาง 2.นักเรียนร้อยละ 85 มีกระบอกน้ำใช้เป็นของตนเอง ให้เด็กล้างมือด้วยสบู่เหลวก่อนรับประทานอาหารและหลังจากเข้าห้องน้ำทุกครั้ง และใช้กระดาษเช็ดชู่ในการทำความสะอาด 3. ครู ร้อยละ 85 สามารถทำความสะอาดศูนย์และของเล่นเด็ก สัปดาห์ละ 1 วัน และทำความสะอาดห้องน้ำทุกวัน

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
รวม 0 0.00 0 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ครูและผู้ปกครอง ได้รับความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่อาจจะเกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การ บริหารส่วนตำบลพังยาง 2. เด็กนักเรียนมีกระบอกน้ำใช้เป็นของตนเองและให้เด็กล้างมือด้วยสบู่เหลวก่อนรับประทานอาหารและหลังจากเข้าห้องน้ำทุกครั้ง และใช้กระดาษเช็ดชู่ในการทำความสะอาด เช็ดมือช่วยลดการแพร่กระจายของแบคทีเรียและเชื้อโรค 3. ครูสามารถทำความสะอาดศูนย์และของเล่นเด็ก สัปดาห์ละ 1 วัน และทำความสะอาดห้องน้ำทุกวัน ส่งผลให้ผู้ปกครอง และนักเรียนมีความมั่นใจถึงความสะอาดปลอดภัย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 มี.ค. 2568 11:05 น.