กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการควบคุมป้องกันโรคเอดส์และการตั้งครรภ์ในเด็กวัยรุ่นก่อนวัยอันควร ประจำปี 2568 ”
ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรีซัน มะเก




ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันโรคเอดส์และการตั้งครรภ์ในเด็กวัยรุ่นก่อนวัยอันควร ประจำปี 2568

ที่อยู่ ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2481-1-12 เลขที่ข้อตกลง 12/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 มิถุนายน 2568 ถึง 18 มิถุนายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมป้องกันโรคเอดส์และการตั้งครรภ์ในเด็กวัยรุ่นก่อนวัยอันควร ประจำปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะท้อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันโรคเอดส์และการตั้งครรภ์ในเด็กวัยรุ่นก่อนวัยอันควร ประจำปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันโรคเอดส์และการตั้งครรภ์ในเด็กวัยรุ่นก่อนวัยอันควร ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2481-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 มิถุนายน 2568 - 18 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะท้อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันวัยรุ่นยังคงเป็นกลุ่มที่เผชิญกับการติดเชื้อเอชไอวีมากที่สุด จากสถิติมีการเพิ่มจำนวนกลุ่มเสี่ยงและผู้ติดเชื้อสูงขึ้น ทั้งนี้สาเหตุหลักของการติดเชื้อคือความถดถอยลงในเรื่องความรู้เกี่ยวกับเชื้อเอชไอวีและโรคเอดส์ และการเพิ่มขึ้นของพฤติกรรมในการใช้ถุงยางอนามัยอย่างไม่สม่ำเสมอ และการเปลี่ยนคู่นอนหลายคน ซึ่งเยาวชนเองยังมีความคิดเห็นที่สับสนถึงวิธีการป้องกันตนเองจากเชื้อเอชไอวีอยู่ ปัญหาสำคัญที่ทำให้เกิดปัญหาการติดเอดส์และท้องก่อนวัยอันควรมีอยู่หลากหลายด้วยกัน ได้แก่ ทัศนคติหรือค่านิยมในวัยรุ่นเรื่องเพศเด็กวัยรุ่นบางคนมองเป็นเรื่องธรรมดา หรือวัยรุ่นบางคนยังมองเป็นกิจกรรมเก็บแต้มด้วยซ้ำ ซึ่งก็ถือว่าเป็นปัจจัยหลักที่สำคัญอันดับต้นๆของปัญหา ปัจจัยต่อมาก็คือเรื่องของสารเสพติด เครื่องดื่มมึนเมา ที่ทำให้ขาดสติและนำไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ในที่สุด รวมถึงสื่อยั่วยุก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญ ไม่ว่าจะเป็นภาพโป๊ เปลือย และอื่น ๆ การขาดความรู้ในการป้องกันตัวเองไม่ให้ติดเอดส์และตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ก็ยังคงเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหา รวมถึงครอบครัวที่ไม่มีเวลาให้ลูก ทำให้ลูกต้องไปหาความรักจากภายนอก จากปัจจัยที่กล่าวมาคือสาเหตุสำคัญของปัญหาที่ควรได้รับการแก้ไข สำคัญเลยคือ เราไม่ควรปลูกฝังค่านิยมให้เด็กคิดว่าการมีเพศสัมพันธุ์กับการท้องก่อนวัยอันควรเป็นเรื่องธรรมดา โดยเฉพาะครอบครัวที่เป็นส่วนสำคัญที่สุดในการปลูกฝังทัศคติต่าง ๆ ให้กับเด็ก ควรเปิดใจคุยกับลูกถึงเรื่องเพศ ให้เด็กรู้จักหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัย หลีกเลี่ยงการไปในสถานที่ที่มีความเสี่ยง สอนให้ลูกโดยเฉพาะเพศหญิง ให้รู้จักปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์เมื่อถูกโน้มน้าว สอนให้เด็กมีความรู้ในการป้องกันโรคจากการมีเพศสัมพันธุ์และตั้งครรภ์ในยามฉุกเฉิน และการป้องกันการติดเชื้อ
สังคมเองก็เช่นกันที่ควรให้ความสำคัญกับเรื่องนี้ เพื่อป้องกันปัญหาการติดเอดส์และเด็กตั้งครรภ์ก่อนวัย ควรมองว่าการที่เด็กรู้จักป้องกันคือเรื่องที่ดี ไม่ควรมองว่าเป็นเรื่องผิดปกติ อย่างเช่นตามร้านขายยา หากเด็กเดินเข้าไปซื้อยาคุมกำเนิดหรือถุงยางอนามัยก็ไม่ควรใช้สายตาตำหนิติเตียน เพื่อให้เด็กกล้าที่จะรู้จักป้องกันมากกว่าจะให้เกิดปัญหาตั้งครรภ์ก่อนวัยอย่างเช่นทุกวันนี้ ดังนั้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะสะท้อน จึงได้จัดทำควบคุมป้องกันโรคเอดส์และการตั้งครรภ์ในเด็กวัยรุ่นก่อนวัยอันควร ประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อกระตุ้นการสร้างความเข้าใจให้กับเยาวชนที่มากขึ้นและขยายฐานองค์ความรู้เรื่องการป้องกันโรคเอดส์ไปสู่วงกว้างระดับโรงเรียนและชุมชนให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง และเป็นแนวทางในการที่จะป้องกันและรณรงค์ให้ความรู้แก่เยาวชนในเขตพื้นที่ตำบลเกาะสะท้อน ปลอดภัยจากโรคเอดส์และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร สามารถใช้ชีวิตในสังคมอย่างมีความสุขต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความตระหนักแก่เด็กและเยาวชน ในการป้องกันตนเองจากโรคเอดส์และการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวันอันควร
  2. เพื่อสร้างเครือข่ายแกนนำเยาวชนในชุมชนและสถานศึกษา
  3. เพื่อประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเยาวชนรับรู้สถานการณ์เอดส์และพฤติกรรมเสี่ยงในการติดเชื้อเอชไอวี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้
  2. อบรมให้ความรู้ เเละภาคปฏิบัติ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 210
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและเยาวชนตระหนักถึงการป้องกันตนเองจากโรคเอดส์และการป้องกันการ ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
  2. มีเครือข่ายแกนนำเยาวชนในชุมชนและสถานศึกษา
  3. กลุ่มเยาวชนรับรู้สถานการณ์เอดส์และพฤติกรรมเสี่ยงในการติดเชื้อ เอช ไอ วี การประชาสัมพันธ์ ของหน่วยงาน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความตระหนักแก่เด็กและเยาวชน ในการป้องกันตนเองจากโรคเอดส์และการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวันอันควร
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อสร้างเครือข่ายแกนนำเยาวชนในชุมชนและสถานศึกษา
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเยาวชนรับรู้สถานการณ์เอดส์และพฤติกรรมเสี่ยงในการติดเชื้อเอชไอวี
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 210
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 210
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความตระหนักแก่เด็กและเยาวชน ในการป้องกันตนเองจากโรคเอดส์และการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวันอันควร (2) เพื่อสร้างเครือข่ายแกนนำเยาวชนในชุมชนและสถานศึกษา (3) เพื่อประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเยาวชนรับรู้สถานการณ์เอดส์และพฤติกรรมเสี่ยงในการติดเชื้อเอชไอวี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) อบรมให้ความรู้ เเละภาคปฏิบัติ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมป้องกันโรคเอดส์และการตั้งครรภ์ในเด็กวัยรุ่นก่อนวัยอันควร ประจำปี 2568 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2481-1-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรีซัน มะเก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด