กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อดำเนินการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อโดยแมลงในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสตูลอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : สถานการณ์การระบาดของโรคติดต่อนำโดยแมลง กรณี โรคที่มียุงเป็นพาหะนำโรคในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสตูลลดลงจากปี่ที่แล้ว ปี 2567 (กล่าวคือ ปี2567 มีอัตราการระบาดของโรคติดต่อนำโดยแมลง กรณี โรคที่มียุงเป็นพาหะนำโรค อยู่ที่ 1.73 ต่อแสนประชากร
1.73 1.00

 

 

 

2 เพื่อเตรียมความพร้อมด้านเวชภัณฑ์ในการป้องกันตนเองให้แก่ประชาชน กรณีพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของประชาชนพื้นที่เสี่ยงการระบาดมีเวชภัณฑ์สำหรับดูแลและป้องกันตัวเองเบื้องต้นจากด้วยโรคติดต่อนำโดยแมลง โดยเฉพาะโรคที่มียุงเป็นพาหะนำโรค
70.00 100.00

 

 

 

3 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจด้านการป้องกันตนเองจากโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้องละ100 ของประชาชนมีความรู้ความเข้าใจด้านการป้องกันตนเองจากโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ถูกต้องมากขึ้น
60.00 100.00

 

 

 

4 เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยโรคติดต่อนำโดยแมลง โดยเฉพาะโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะของประชาชน
ตัวชี้วัด : อัตราการผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อโดยแมลง โดยเฉพาะโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสตูลลดลงจากปี่ที่แล้ว ปี 2567 (กล่าวคือ ปี2567 โดยในปีนี้พบมีจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกตั้งแต่วันที่ 1 เดือนมกราคม พ.ศ. 2567 จนถึงวันที่ 24 เดือน กันยายน พ.ศ.2567 จำนวน 15 ราย อัตราป่วย 63.4 /แสนประชากร
63.40 50.00

 

 

 

5 เพื่อป้องกันการเสียชีวิตของผู้ป่วยไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ไม่พบผู้เสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก
0.00 0.00