โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพกายและใจ สำหรับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยภาวะพึ่งพิง ประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพกายและใจ สำหรับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยภาวะพึ่งพิง ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางมารานี ดาโอะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ
เมษายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพกายและใจ สำหรับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยภาวะพึ่งพิง ประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3057-1-1 เลขที่ข้อตกลง 1/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพกายและใจ สำหรับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยภาวะพึ่งพิง ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพกายและใจ สำหรับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยภาวะพึ่งพิง ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพกายและใจ สำหรับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยภาวะพึ่งพิง ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3057-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาศัยอำนาจแห่งพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึง มาตรา 66 องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาทั้งในด้านเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม มาตรา 67 องค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล(3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ (6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ประกอบอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2546 มาตรา ๑๖ ให้องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง (๑๐) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส(๑๙) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล
องค์การบริหารส่วนตำบล ถือว่ามีบทบาทหน้าที่หลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผู้พิการเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุและผู้พิการ สามารถทำคุณประโยชน์ต่อสังคมควบคู่ไปกับลูกหลานคนรุ่นหลังและเป็นแบบอย่างการใช้ชีวิตในอนาคตอย่างมีความสุข ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ผู้พิการให้มีสุขภาพอนามัยและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เช่น มีระบบเฝ้าระวังสุขภาพ สุขภาวะด้วยตนเองและครอบครัว การสร้างเครือข่ายการจัดการบริการผู้สูงอายุ ผู้พิการ เพื่อให้เข้าถึงการบริการด้านการแพทย์ จากที่เจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลปะเสยะวอได้ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านในตำบลปะเสยะวอทั้ง 7 หมู่บ้าน มีผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง จำนวน 60 ราย ประกอบด้วยผู้ป่วยติดเตียง จำนวน 15 ราย ผู้ป่วยติดบ้านจำนวน 45 ราย พบว่าผู้ดูแลผู้ป่วย มีความรู้และทักษะการดูแลผู้ป่วยไม่เพียงพอ และยังขาดอุปกรณ์ทางการแพทย์ เช่น เครื่องวัดความดันโลหิต เครื่องวัดระดับน้ำตาลในเลือด ไม้เท้าช่วยพยุงเดิน (ไม้เท้าสามขา) ทำให้ผู้ดูแลผู้ป่วยสามารถดูแลและปฏิบัติตัวต่อผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ มีกำลังใจพร้อมที่จะต่อสู้ และ มีสุขภาพจิต กายที่ดีขึ้น และเป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีแก่ผู้สูงอายุ
ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมองค์การบริหารส่วนตำบลปะเสยะวอจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้และมีศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยมากขึ้น มีอุปกรณ์ทางการแพทย์เบื้องต้น ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านเพื่อประเมินติดตามคุณภาพชีวิต รวมถึงสร้างขวัญและกำลังใจในการดำเนินชีวิตต่อไปของผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง มีความรู้และมีศักยภาพ ในการดูแลผู้ป่วยเพิ่มขึ้น
- เพื่อให้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการสนับสนุนอย่างเหมาะสม
- เพื่อประเมินคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้สำหรับกลุ่มผู้ดูแลผู้ดูแลผู้ป่วย และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 60
- ลงเยี่ยมบ้านเพื่อประเมินภาวะสุขภาพ สภาพความเป็นอยู่ และให้คำแนะนำด้านสุขภาพ
- อบรมให้ความรู้สำหรับกลุ่มผู้ดูแลผู้ดูแลผู้ป่วย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
2
กลุ่มวัยทำงาน
8
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
10
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
7.1 ผู้ดูแลผู้ป่วยผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง มีความรู้และมีศักยภาพ ในการดูแล ปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
7.2 ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง ได้รับการเยี่ยมบ้านและดูแลเบื้องต้น
7.3 คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง ที่รับการเยี่ยมดีขึ้น ดำรงชีวิตความสุขกำลังใจมากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง มีความรู้และมีศักยภาพ ในการดูแลผู้ป่วยเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : 1.1 ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง มีความรู้และมีศักยภาพ ในการดูแลผู้ป่วยเพิ่มขึ้น ร้อยละ80
1.10
2
เพื่อให้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการสนับสนุนอย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการสนับสนุนอย่างเหมาะสม ร้อยละ 80
1.10
3
เพื่อประเมินคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง มีคุณภาพชีวิตดีขึ้น ร้อยละ80
1.10
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
2
กลุ่มวัยทำงาน
8
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
10
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง มีความรู้และมีศักยภาพ ในการดูแลผู้ป่วยเพิ่มขึ้น (2) เพื่อให้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการสนับสนุนอย่างเหมาะสม (3) เพื่อประเมินคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้สำหรับกลุ่มผู้ดูแลผู้ดูแลผู้ป่วย และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 60 (2) ลงเยี่ยมบ้านเพื่อประเมินภาวะสุขภาพ สภาพความเป็นอยู่ และให้คำแนะนำด้านสุขภาพ (3) อบรมให้ความรู้สำหรับกลุ่มผู้ดูแลผู้ดูแลผู้ป่วย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพกายและใจ สำหรับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยภาวะพึ่งพิง ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3057-1-1
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางมารานี ดาโอะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพกายและใจ สำหรับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยภาวะพึ่งพิง ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางมารานี ดาโอะ
เมษายน 2568
ที่อยู่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3057-1-1 เลขที่ข้อตกลง 1/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพกายและใจ สำหรับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยภาวะพึ่งพิง ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพกายและใจ สำหรับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยภาวะพึ่งพิง ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพกายและใจ สำหรับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยภาวะพึ่งพิง ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3057-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาศัยอำนาจแห่งพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึง มาตรา 66 องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาทั้งในด้านเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม มาตรา 67 องค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล(3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ (6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ประกอบอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2546 มาตรา ๑๖ ให้องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง (๑๐) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส(๑๙) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล
องค์การบริหารส่วนตำบล ถือว่ามีบทบาทหน้าที่หลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผู้พิการเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุและผู้พิการ สามารถทำคุณประโยชน์ต่อสังคมควบคู่ไปกับลูกหลานคนรุ่นหลังและเป็นแบบอย่างการใช้ชีวิตในอนาคตอย่างมีความสุข ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ผู้พิการให้มีสุขภาพอนามัยและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เช่น มีระบบเฝ้าระวังสุขภาพ สุขภาวะด้วยตนเองและครอบครัว การสร้างเครือข่ายการจัดการบริการผู้สูงอายุ ผู้พิการ เพื่อให้เข้าถึงการบริการด้านการแพทย์ จากที่เจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลปะเสยะวอได้ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านในตำบลปะเสยะวอทั้ง 7 หมู่บ้าน มีผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง จำนวน 60 ราย ประกอบด้วยผู้ป่วยติดเตียง จำนวน 15 ราย ผู้ป่วยติดบ้านจำนวน 45 ราย พบว่าผู้ดูแลผู้ป่วย มีความรู้และทักษะการดูแลผู้ป่วยไม่เพียงพอ และยังขาดอุปกรณ์ทางการแพทย์ เช่น เครื่องวัดความดันโลหิต เครื่องวัดระดับน้ำตาลในเลือด ไม้เท้าช่วยพยุงเดิน (ไม้เท้าสามขา) ทำให้ผู้ดูแลผู้ป่วยสามารถดูแลและปฏิบัติตัวต่อผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ มีกำลังใจพร้อมที่จะต่อสู้ และ มีสุขภาพจิต กายที่ดีขึ้น และเป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีแก่ผู้สูงอายุ
ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมองค์การบริหารส่วนตำบลปะเสยะวอจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้และมีศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยมากขึ้น มีอุปกรณ์ทางการแพทย์เบื้องต้น ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านเพื่อประเมินติดตามคุณภาพชีวิต รวมถึงสร้างขวัญและกำลังใจในการดำเนินชีวิตต่อไปของผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง มีความรู้และมีศักยภาพ ในการดูแลผู้ป่วยเพิ่มขึ้น
- เพื่อให้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการสนับสนุนอย่างเหมาะสม
- เพื่อประเมินคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้สำหรับกลุ่มผู้ดูแลผู้ดูแลผู้ป่วย และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 60
- ลงเยี่ยมบ้านเพื่อประเมินภาวะสุขภาพ สภาพความเป็นอยู่ และให้คำแนะนำด้านสุขภาพ
- อบรมให้ความรู้สำหรับกลุ่มผู้ดูแลผู้ดูแลผู้ป่วย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 2 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 8 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 10 | |
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
7.1 ผู้ดูแลผู้ป่วยผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง มีความรู้และมีศักยภาพ ในการดูแล ปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง 7.2 ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง ได้รับการเยี่ยมบ้านและดูแลเบื้องต้น 7.3 คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง ที่รับการเยี่ยมดีขึ้น ดำรงชีวิตความสุขกำลังใจมากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง มีความรู้และมีศักยภาพ ในการดูแลผู้ป่วยเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด : 1.1 ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง มีความรู้และมีศักยภาพ ในการดูแลผู้ป่วยเพิ่มขึ้น ร้อยละ80 |
1.10 |
|
||
2 | เพื่อให้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการสนับสนุนอย่างเหมาะสม ตัวชี้วัด : การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการสนับสนุนอย่างเหมาะสม ร้อยละ 80 |
1.10 |
|
||
3 | เพื่อประเมินคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง มีคุณภาพชีวิตดีขึ้น ร้อยละ80 |
1.10 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 2 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 8 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 10 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง มีความรู้และมีศักยภาพ ในการดูแลผู้ป่วยเพิ่มขึ้น (2) เพื่อให้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการสนับสนุนอย่างเหมาะสม (3) เพื่อประเมินคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้สำหรับกลุ่มผู้ดูแลผู้ดูแลผู้ป่วย และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 60 (2) ลงเยี่ยมบ้านเพื่อประเมินภาวะสุขภาพ สภาพความเป็นอยู่ และให้คำแนะนำด้านสุขภาพ (3) อบรมให้ความรู้สำหรับกลุ่มผู้ดูแลผู้ดูแลผู้ป่วย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพกายและใจ สำหรับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยภาวะพึ่งพิง ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3057-1-1
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางมารานี ดาโอะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......