โครงการตรวจสารอันตรายผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่สั่งซื้อทางออนไลน์ในกลุ่มประชาชนตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ประจำปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการตรวจสารอันตรายผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่สั่งซื้อทางออนไลน์ในกลุ่มประชาชนตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ประจำปี 2568 ”
ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายธวัช ใสเกื้อ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการตรวจสารอันตรายผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่สั่งซื้อทางออนไลน์ในกลุ่มประชาชนตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ประจำปี 2568
ที่อยู่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1520-01-18 เลขที่ข้อตกลง 15/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 มีนาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจสารอันตรายผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่สั่งซื้อทางออนไลน์ในกลุ่มประชาชนตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ประจำปี 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจสารอันตรายผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่สั่งซื้อทางออนไลน์ในกลุ่มประชาชนตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตรวจสารอันตรายผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่สั่งซื้อทางออนไลน์ในกลุ่มประชาชนตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1520-01-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 มีนาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,022.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เครื่องสำอางตามพระราชบัญญัติ เครื่องสำอาง พ.ศ.2558 หมายถึง วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ทาถู นวด โรย พ่น หยอด ใส่ อบ หรือ กระทำด้วยวิธีอื่นใดกับส่วนภายนอกของร่างกาย มนุษย์ และให้หมายความรวมถึงการใช้กับฟันและ เยื่อบุในช่องปาก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความสะอาด ความสวยงาม หรือเปลี่ยนแปลงลักษณะที่ปรากฏ หรือระงับกลิ่นกายหรือปกป้องดูแลส่วนต่างๆ นั้นให้อยู่ในสภาพดี และรวมตลอดทั้งเครื่องประทิน ต่างๆ สหรับผิวรวมถึงวัตถุที่มุ่งหมายสหรับใช้เป็น ส่วนผสมในการผลิตเครื่องสำอางโดยเฉพาะ ปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางหลายประเภท เพื่อ วัตถุประสงค์การใช้ที่แตกต่างกัน และมีแนวโน้มการใช้สูงขึ้น จากการประเมินของศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คาดการณ์ว่า ตลาดเครื่องสำอางของไทยปี 2562-2566 จะเติบโต ราว 7.14% มีมูลค่ารวมสูงถึง 1.68 แสนล้าน 2 ในขณะที่รัฐบาลสนับสนุน Thai Herb 4.0 ในการ สร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจของสมุนไพร 3 ประกอบ กับประชาชนนิยมใช้ ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร ส่งผล ให้เกิดการพัฒนาใช้สมุนไพรเป็นส่วนผสมในเครื่องสำอาง
สถานการณ์ปัจจุบันมีการอุปโภคผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางหลากหลายประเภทในการซื้อขายออนไลน์ที่เราอาจจะไม่รู้แหล่งในการซื้อหรือแหล่งผลิต ทั้งประเภทที่มีการผลิตและจําหน่ายในประเทศไทย รวมถึงประเภทที่มีการผลิตและนําเข้าจากต่างประเทศ เครื่องสําอางเหล่านี้มีทั้ง ชนิดที่ปลอดภัยและไม่ปลอดภัย เครื่องสําอางชนิดที่ไม่ปลอดภัย ได้แก่ เครื่องสําอางที่มีฉลากเครื่องสําอางไม่ถูกต้อง เครื่องสําอางที่ไม่มีเลขที่จดแจ้ง หรือเครื่องสําอางที่มีเลขที่จดแจ้งไม่ตรงตามข้อมูลจริง เพราะไม่ได้ผ่านการจดแจ้ง รายละเอียดเครื่องสําอางจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เครื่องสําอางเหล่านี้ส่งผลต่อความ ปลอดภัยของผู้บริโภค เพราะอาจมีการลักลอบผสมสารอันตรายห้ามใช้ ได้แก่ สารปรอท/แอมโมเนียไฮโดรควิโนน กรดวิตามินเอและสเตียรอยด์ในเครื่องสําอาง อันตรายจากการใช้เครื่องสําอางที่มีสารปรอท/แอมโมเนียเป็น เวลานานส่งผลให้ผู้บริโภคเกิดภาวะผิวหน้าดําผิวบางลง เกิดพิษสะสมของสารปรอททําให้ทางเดินปัสสาวะและไตอักเสบ ทําให้มีการสะสมปรอทในผิวหนังและดูดซึมเข้าสู่กระแสโลหิตทําให้ตับและไตผิดปกติ อันตรายจากการใช้เครื่องสําอางที่มีสารไฮโดรควิโนนเป็นเวลานานทําให้เกิดฝ้าถาวรที่ไม่สามารถรักษาให้หายได้ อันตรายจากการใช้ เครื่องสําอางที่มีกรดวิตามินเอเป็นเวลานานอาจส่งผลทําให้ผิวหน้าอักเสบลอกอย่างรุนแรงและทําให้ทารกพิการได้ ส่วนอันตรายจากการใช้เครื่องสําอางที่มีสารสเตียรอยด์ผสมอยู่จะส่งผลทําให้ผิวหน้าบางลงหน้าแดง และเห็นเส้น เลือดฝอยชัดเจน บางครั้งอาจเป็นตุ่มหนองเล็กๆ ผื่นแพ้ และสิวจากสเตียรอยด์ ซึ่งรักษาให้หายยาก ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบ้านในปงจึงได้จัดทําโครงการฯ โดยรายการสารที่จะตรวจสารอันตรายหลักก็จะมี
1.) สารปรอท (Mercury)ทำให้ผิวหนังเกิดการแพ้ ผื่นแดง ผิวหน้าดำ บางคนกลายเป็นฝ้าถาวร และผิวบางลงด้วย ยิ่งใช้นาน สารปรอทยิ่งสะสมพิษในผิวหนังมากขึ้น และเป็นสารที่ดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด ทำให้เกิดโรคโลหิตจาง ตับอักเสบ ไตอักเสบ ทางเดินปัสสาวะอักเสบส่วนในสตรีมีครรภ์นั้น สารปรอทจะดูดซึมเข้าร่างกายและไปสู่ทารก ส่งผลให้เด็กมีสมองพิการและปัญญาอ่อนได้ 2.) สารไฮโดรควิโนน (Hydroquinone) ส่งผลให้เกิดอาการแสบร้อน เป็นตุ่มแดง หากใช้อย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน จะทำให้เป็นฝ้าถาวร แถมยังเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งผิวหนังได้ ผู้ที่ได้รับยานี้เกินขนาดยาจะดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดและไปกระตุ้นให้ร่างกายมีอาการสั่น หรือเกิดลมชัก หรือแพ้ยาได้ 3.) สเตียรอยด์ (Steroid) หากใช้ในปริมาณมากเกินมาตรฐาน หรือนำไปใช้ผิดวิธี และใช้เป็นระยะเวลานานต่อเนื่อง สเตียรอยด์จะส่งผลข้างเคียงทั้งภายนอกและภายในร่างกาย เช่น ผิวหนังเสพติดจนเกิดอาการแดงเป็นผดผื่น ผิวหน้าบาง มลพิษต่างๆ จากภายนอกจะเข้าสู่ชั้นผิวหนังแท้ได้ง่ายขึ้น คนที่แพ้หรือผิวบางมากๆ จะเห็นเส้นเลือดแดงตามใบหน้าได้อย่างชัดเจน 4.) กรดเรทิโนอิก (Retinoic Acid)ผลข้างเคียงทำให้เกิดการระคายเคืองผิวหนัง ผิวหน้าลอก อักเสบ แพ้แสงแดดง่ายกว่าปกติ เกิดภาวะผิวด่างขาวหรือผิวคล้ำได้ชั่วคราว และอาจเป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้กลุ่มประชาชนที่นิยมอุปโภคผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ซื้อทางออนไลน์เป็นประจำได้รับการตรวจคัดกรองผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ตนเองใช้ได้
- 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้โทษอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่มีสารปรอทปนเปื้อน
- 3. เพื่อให้อัตราของเหตุการณ์อาการแพ้จากการใช้เครื่องสำอาง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.1 กิจกรรมย่อย ประชาสัมพันธ์โครงการในพื้นที่
- การกิจกรรมการตรวจคัดกรองสารปรอท ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง
- กิจกรรมการให้ความรู้โทษของการใช้เครื่องสำอางที่มีสารปรอทปนเปื้อน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
10,993
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มประชาชนที่นิยมอุปโภคผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ซื้อทางออนไลน์เป็นประจำได้รับการตรวจคัดกรองผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ตนเองใช้
- เพื่อให้กลุ่มประชาชนได้รับความรู้ในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางอย่างปลอดภัย
- ลดความเสี่ยงต่อการใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ซื้อทางออนไลน์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้กลุ่มประชาชนที่นิยมอุปโภคผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ซื้อทางออนไลน์เป็นประจำได้รับการตรวจคัดกรองผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ตนเองใช้ได้
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มประชาชนที่นิยมอุปโภคผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ซื้อทางออนไลน์เป็นประจำได้รับการตรวจคัดกรองผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ตนเองใช้ได้ ร้อยละ 30 ของจำนวนครัวเรือน
2
2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้โทษอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่มีสารปรอทปนเปื้อน
ตัวชี้วัด : 2.ไม่มีอุบัติการณ์ซ้ำการใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางแล้วเกิดอันตราย
ร้อยละ 30
3
3. เพื่อให้อัตราของเหตุการณ์อาการแพ้จากการใช้เครื่องสำอาง
ตัวชี้วัด : 3. อัตราป่วยมีอาการแพ้จากการใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางเป็น 0
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
10993
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
10,993
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้กลุ่มประชาชนที่นิยมอุปโภคผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ซื้อทางออนไลน์เป็นประจำได้รับการตรวจคัดกรองผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ตนเองใช้ได้ (2) 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้โทษอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่มีสารปรอทปนเปื้อน (3) 3. เพื่อให้อัตราของเหตุการณ์อาการแพ้จากการใช้เครื่องสำอาง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.1 กิจกรรมย่อย ประชาสัมพันธ์โครงการในพื้นที่ (2) การกิจกรรมการตรวจคัดกรองสารปรอท ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง (3) กิจกรรมการให้ความรู้โทษของการใช้เครื่องสำอางที่มีสารปรอทปนเปื้อน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการตรวจสารอันตรายผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่สั่งซื้อทางออนไลน์ในกลุ่มประชาชนตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ประจำปี 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1520-01-18
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายธวัช ใสเกื้อ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการตรวจสารอันตรายผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่สั่งซื้อทางออนไลน์ในกลุ่มประชาชนตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ประจำปี 2568 ”
ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายธวัช ใสเกื้อ
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1520-01-18 เลขที่ข้อตกลง 15/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 มีนาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจสารอันตรายผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่สั่งซื้อทางออนไลน์ในกลุ่มประชาชนตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ประจำปี 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจสารอันตรายผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่สั่งซื้อทางออนไลน์ในกลุ่มประชาชนตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตรวจสารอันตรายผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่สั่งซื้อทางออนไลน์ในกลุ่มประชาชนตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1520-01-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 มีนาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,022.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เครื่องสำอางตามพระราชบัญญัติ เครื่องสำอาง พ.ศ.2558 หมายถึง วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ทาถู นวด โรย พ่น หยอด ใส่ อบ หรือ กระทำด้วยวิธีอื่นใดกับส่วนภายนอกของร่างกาย มนุษย์ และให้หมายความรวมถึงการใช้กับฟันและ เยื่อบุในช่องปาก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความสะอาด ความสวยงาม หรือเปลี่ยนแปลงลักษณะที่ปรากฏ หรือระงับกลิ่นกายหรือปกป้องดูแลส่วนต่างๆ นั้นให้อยู่ในสภาพดี และรวมตลอดทั้งเครื่องประทิน ต่างๆ สหรับผิวรวมถึงวัตถุที่มุ่งหมายสหรับใช้เป็น ส่วนผสมในการผลิตเครื่องสำอางโดยเฉพาะ ปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางหลายประเภท เพื่อ วัตถุประสงค์การใช้ที่แตกต่างกัน และมีแนวโน้มการใช้สูงขึ้น จากการประเมินของศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คาดการณ์ว่า ตลาดเครื่องสำอางของไทยปี 2562-2566 จะเติบโต ราว 7.14% มีมูลค่ารวมสูงถึง 1.68 แสนล้าน 2 ในขณะที่รัฐบาลสนับสนุน Thai Herb 4.0 ในการ สร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจของสมุนไพร 3 ประกอบ กับประชาชนนิยมใช้ ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร ส่งผล ให้เกิดการพัฒนาใช้สมุนไพรเป็นส่วนผสมในเครื่องสำอาง สถานการณ์ปัจจุบันมีการอุปโภคผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางหลากหลายประเภทในการซื้อขายออนไลน์ที่เราอาจจะไม่รู้แหล่งในการซื้อหรือแหล่งผลิต ทั้งประเภทที่มีการผลิตและจําหน่ายในประเทศไทย รวมถึงประเภทที่มีการผลิตและนําเข้าจากต่างประเทศ เครื่องสําอางเหล่านี้มีทั้ง ชนิดที่ปลอดภัยและไม่ปลอดภัย เครื่องสําอางชนิดที่ไม่ปลอดภัย ได้แก่ เครื่องสําอางที่มีฉลากเครื่องสําอางไม่ถูกต้อง เครื่องสําอางที่ไม่มีเลขที่จดแจ้ง หรือเครื่องสําอางที่มีเลขที่จดแจ้งไม่ตรงตามข้อมูลจริง เพราะไม่ได้ผ่านการจดแจ้ง รายละเอียดเครื่องสําอางจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เครื่องสําอางเหล่านี้ส่งผลต่อความ ปลอดภัยของผู้บริโภค เพราะอาจมีการลักลอบผสมสารอันตรายห้ามใช้ ได้แก่ สารปรอท/แอมโมเนียไฮโดรควิโนน กรดวิตามินเอและสเตียรอยด์ในเครื่องสําอาง อันตรายจากการใช้เครื่องสําอางที่มีสารปรอท/แอมโมเนียเป็น เวลานานส่งผลให้ผู้บริโภคเกิดภาวะผิวหน้าดําผิวบางลง เกิดพิษสะสมของสารปรอททําให้ทางเดินปัสสาวะและไตอักเสบ ทําให้มีการสะสมปรอทในผิวหนังและดูดซึมเข้าสู่กระแสโลหิตทําให้ตับและไตผิดปกติ อันตรายจากการใช้เครื่องสําอางที่มีสารไฮโดรควิโนนเป็นเวลานานทําให้เกิดฝ้าถาวรที่ไม่สามารถรักษาให้หายได้ อันตรายจากการใช้ เครื่องสําอางที่มีกรดวิตามินเอเป็นเวลานานอาจส่งผลทําให้ผิวหน้าอักเสบลอกอย่างรุนแรงและทําให้ทารกพิการได้ ส่วนอันตรายจากการใช้เครื่องสําอางที่มีสารสเตียรอยด์ผสมอยู่จะส่งผลทําให้ผิวหน้าบางลงหน้าแดง และเห็นเส้น เลือดฝอยชัดเจน บางครั้งอาจเป็นตุ่มหนองเล็กๆ ผื่นแพ้ และสิวจากสเตียรอยด์ ซึ่งรักษาให้หายยาก ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบ้านในปงจึงได้จัดทําโครงการฯ โดยรายการสารที่จะตรวจสารอันตรายหลักก็จะมี 1.) สารปรอท (Mercury)ทำให้ผิวหนังเกิดการแพ้ ผื่นแดง ผิวหน้าดำ บางคนกลายเป็นฝ้าถาวร และผิวบางลงด้วย ยิ่งใช้นาน สารปรอทยิ่งสะสมพิษในผิวหนังมากขึ้น และเป็นสารที่ดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด ทำให้เกิดโรคโลหิตจาง ตับอักเสบ ไตอักเสบ ทางเดินปัสสาวะอักเสบส่วนในสตรีมีครรภ์นั้น สารปรอทจะดูดซึมเข้าร่างกายและไปสู่ทารก ส่งผลให้เด็กมีสมองพิการและปัญญาอ่อนได้ 2.) สารไฮโดรควิโนน (Hydroquinone) ส่งผลให้เกิดอาการแสบร้อน เป็นตุ่มแดง หากใช้อย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน จะทำให้เป็นฝ้าถาวร แถมยังเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งผิวหนังได้ ผู้ที่ได้รับยานี้เกินขนาดยาจะดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดและไปกระตุ้นให้ร่างกายมีอาการสั่น หรือเกิดลมชัก หรือแพ้ยาได้ 3.) สเตียรอยด์ (Steroid) หากใช้ในปริมาณมากเกินมาตรฐาน หรือนำไปใช้ผิดวิธี และใช้เป็นระยะเวลานานต่อเนื่อง สเตียรอยด์จะส่งผลข้างเคียงทั้งภายนอกและภายในร่างกาย เช่น ผิวหนังเสพติดจนเกิดอาการแดงเป็นผดผื่น ผิวหน้าบาง มลพิษต่างๆ จากภายนอกจะเข้าสู่ชั้นผิวหนังแท้ได้ง่ายขึ้น คนที่แพ้หรือผิวบางมากๆ จะเห็นเส้นเลือดแดงตามใบหน้าได้อย่างชัดเจน 4.) กรดเรทิโนอิก (Retinoic Acid)ผลข้างเคียงทำให้เกิดการระคายเคืองผิวหนัง ผิวหน้าลอก อักเสบ แพ้แสงแดดง่ายกว่าปกติ เกิดภาวะผิวด่างขาวหรือผิวคล้ำได้ชั่วคราว และอาจเป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้กลุ่มประชาชนที่นิยมอุปโภคผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ซื้อทางออนไลน์เป็นประจำได้รับการตรวจคัดกรองผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ตนเองใช้ได้
- 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้โทษอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่มีสารปรอทปนเปื้อน
- 3. เพื่อให้อัตราของเหตุการณ์อาการแพ้จากการใช้เครื่องสำอาง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.1 กิจกรรมย่อย ประชาสัมพันธ์โครงการในพื้นที่
- การกิจกรรมการตรวจคัดกรองสารปรอท ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง
- กิจกรรมการให้ความรู้โทษของการใช้เครื่องสำอางที่มีสารปรอทปนเปื้อน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 10,993 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มประชาชนที่นิยมอุปโภคผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ซื้อทางออนไลน์เป็นประจำได้รับการตรวจคัดกรองผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ตนเองใช้
- เพื่อให้กลุ่มประชาชนได้รับความรู้ในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางอย่างปลอดภัย
- ลดความเสี่ยงต่อการใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ซื้อทางออนไลน์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้กลุ่มประชาชนที่นิยมอุปโภคผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ซื้อทางออนไลน์เป็นประจำได้รับการตรวจคัดกรองผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ตนเองใช้ได้ ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มประชาชนที่นิยมอุปโภคผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ซื้อทางออนไลน์เป็นประจำได้รับการตรวจคัดกรองผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ตนเองใช้ได้ ร้อยละ 30 ของจำนวนครัวเรือน |
|
|||
2 | 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้โทษอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่มีสารปรอทปนเปื้อน ตัวชี้วัด : 2.ไม่มีอุบัติการณ์ซ้ำการใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางแล้วเกิดอันตราย ร้อยละ 30 |
|
|||
3 | 3. เพื่อให้อัตราของเหตุการณ์อาการแพ้จากการใช้เครื่องสำอาง ตัวชี้วัด : 3. อัตราป่วยมีอาการแพ้จากการใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางเป็น 0 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 10993 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 10,993 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้กลุ่มประชาชนที่นิยมอุปโภคผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ซื้อทางออนไลน์เป็นประจำได้รับการตรวจคัดกรองผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ตนเองใช้ได้ (2) 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้โทษอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่มีสารปรอทปนเปื้อน (3) 3. เพื่อให้อัตราของเหตุการณ์อาการแพ้จากการใช้เครื่องสำอาง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.1 กิจกรรมย่อย ประชาสัมพันธ์โครงการในพื้นที่ (2) การกิจกรรมการตรวจคัดกรองสารปรอท ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง (3) กิจกรรมการให้ความรู้โทษของการใช้เครื่องสำอางที่มีสารปรอทปนเปื้อน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการตรวจสารอันตรายผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่สั่งซื้อทางออนไลน์ในกลุ่มประชาชนตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ประจำปี 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1520-01-18
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายธวัช ใสเกื้อ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......