กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังดูแลสตรีไทยจากมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุติมา ป้องเศร้า




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังดูแลสตรีไทยจากมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3020-01-12 เลขที่ข้อตกลง 12

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังดูแลสตรีไทยจากมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังดูแลสตรีไทยจากมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังดูแลสตรีไทยจากมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3020-01-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทยและมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น และโรคมะเร็งที่พบมากที่สุดในประเทศไทย คือ โรคมะเร็งตับ รองลงมาคือมะเร็งปอด มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมตามลำดับในประเทศไทย โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่พบเป็นอันดับหนึ่งในสตรีไทย มีผู้ป่วยรายใหม่ประมาณปีละ 6,300 รายพบมากที่สุดอายุระหว่าง 45-50 ปี ระยะที่พบส่วนใหญ่อยู่ในระยะลุกลาม การรักษาจึงเป็นไปได้ยาก ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาสูง การป้องกัน และการควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูก ต้องมีการค้นหาด้วยการตรวจหาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรก และระยะก่อนเป็นมะเร็ง ซึ่งสามารถรักษาให้หายได้และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลามและจากการศึกษาขององค์การอนามัยโลก ได้พบว่าการคัดกรองด้วยการทำ pap smear ในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ทำให้ช่วยลดอัตราการเกิดและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้ เนื่องจากโรคมะเร็งเป็นโรคที่เป็นแล้วจะทำให้เกิดอาการป่วยและเสียชีวิตก่อนวัยอันสมควร แต่ในขณะเดียวกันโรคมะเร็งเป็นโรคหนึ่งที่สามารถรักษาให้หายขาดได้ถ้าหากว่าได้รับการตรวจวินิจฉัยและมาพบแพทย์ตั้งแต่ในระยะเริ่มแรก ปัจจุบันสตรีจำนวนไม่น้อยที่ยังขาดความรู้ในเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม เดิมการตรวจแป๊บสเมียร์ (Conventional Pap Smear) เป็นการเก็บเซลล์ปากมดลูกมาป้ายบนสไลด์ ความแม่นยำในการตรวจขึ้นอยู่กับความชำนาญของผู้อ่านสไลด์ ปัจจุบันนี้สาธารณสุขไทยได้มีการตรวจหาเชื้อมะเร็งปากมดลูกแบบใหม่ เรียกว่า HPV DNA Test เป็นเทคนิคทางด้านชีวโมเลกุลที่จะตรวจหาตัวเชื้อ HPV ได้โดยตรง ทำให้สามารถตรวจหาระยะของโรคก่อนที่จะกลายเป็นมะเร็ง คือการตรวจในระดับโมเลกุล เพื่อหาเชื้อ HPV ความเสี่ยงสูงทั้ง 14 สายพันธุ์ ซึ่งเป็นสาเหตุของมะเร็งปากมดลูก ประมาณ 99% โดยมีวิธีการตรวจเหมือนตรวจภายใน คือเก็บเซลล์บริเวณตัวอย่างที่ปากมดลูกช่องคลอดด้านใน ส่งตรวจเหมือนวิธีการตรวจด้วยน้ำยา ซึ่งสามารถที่จะตรวจหาเซลล์และแยกน้ำยาเพื่อจะตรวจหาเชื้อ HPV DNA ได้ จากการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ 30-60 ปี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลม่วงเตี้ย มีเป้าหมายสะสมที่จะต้องดำเนินการระหว่างปี 2567 – 2572 จำนวน 470 คน ระยะเวลาที่ผ่านมาได้ทำการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแล้วจำนวน 48 คน ผลการตรวจผิดปกติ 1 คนได้รับการส่งต่อโรงพยาบาลและกลุ่มเป้าหมายคัดกรองมะเร็งเต้านมพบผิดปกติจำนวน 1 รายได้รับการรักษาโรงพยาบาลปัตตานี ในปี 2568 นี้ได้กำหนดเป้าหมายที่จะต้องดำเนินการคัดกรองมะเร็งเต้านมสตรีอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองเต้านมด้วยเจ้าหน้าที่และด้วยตนเอง จำนวน 792 คน และในปีงบประมาณ 2568 นี้ ได้กำหนดเป้าหมายจะต้องดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ 30-60 ปี จำนวน 422 คน เพื่อเป็นการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพ ลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลม่วงเตี้ย จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีปลอดภัยจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้ในที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองอย่างน้อยร้อยละ 80
  2. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกอย่างน้อยร้อยละ 20 ต่อปี
  3. เพื่อค้นหามะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรกได้ และผู้ป่วยได้รับการรักษาอย่างถูกต้องต่อเนื่อง ทันท่วงที

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการตรวจเต้านมตนเองแก่แกนนำ อสม. กลุ่มแกนนำหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เสี่ยงเป็นมะเร็งเต้านมช่วงอายุ 30-70 ปีและกลุ่มแกนนำหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เสี่ยงเป็นมะเร็งปากมดลูกช่วงอายุ 30-60 ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 75
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
  2. สตรีกลุ่มเป้าหมายตระหนักและให้ความสำคัญ ในการใส่ใจสุขภาพด้วยการตรวจมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
  3. ติดตามผลตรวจ pap smear และส่งต่อผู้ที่มีผลผิดปกติ ให้ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง ต่อเนื่อง และทันท่วงที
  4. ลดอัตราการเกิดโรคในระยะอันตราย ลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองอย่างน้อยร้อยละ 80
ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
80.00

 

2 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกอย่างน้อยร้อยละ 20 ต่อปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 20 ของสตรีกลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ต้องได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
20.00

 

3 เพื่อค้นหามะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรกได้ และผู้ป่วยได้รับการรักษาอย่างถูกต้องต่อเนื่อง ทันท่วงที
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายที่มีผลการตรวจมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกที่ผิดปกติ(Epithelial cell Abnormality)ได้รับการรักษาและส่งต่ออย่างทันท่วงที
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 75
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 75
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองอย่างน้อยร้อยละ 80 (2) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกอย่างน้อยร้อยละ 20 ต่อปี (3) เพื่อค้นหามะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรกได้ และผู้ป่วยได้รับการรักษาอย่างถูกต้องต่อเนื่อง ทันท่วงที

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการตรวจเต้านมตนเองแก่แกนนำ อสม. กลุ่มแกนนำหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เสี่ยงเป็นมะเร็งเต้านมช่วงอายุ 30-70 ปีและกลุ่มแกนนำหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เสี่ยงเป็นมะเร็งปากมดลูกช่วงอายุ 30-60 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังดูแลสตรีไทยจากมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3020-01-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุติมา ป้องเศร้า )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด