โครงการหนูน้อยฟันดี มีสุข
ชื่อโครงการ | โครงการหนูน้อยฟันดี มีสุข |
รหัสโครงการ | 68-L5282-02-04 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนบ้านอุได |
วันที่อนุมัติ | 5 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 5 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 20,915.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายอาหลี รอเกตุ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | โรงเรียนบ้านอุได |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 79 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 32 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
สุขภาพช่องปากมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อประชาชนในทุกกลุ่มวัย โดยเฉพาะในเด็กกลุ่มวัยเรียนมักพบปัญหาทางด้านทันตสุขภาพเสมอ และปัญหาที่พบมากคือ โรคฟันผุ ซึ่งสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรก ทั้งนี้อัตราการเกิดฟันผุ สาเหตุหลักที่ ทำให้เด็กมีฟันผุ มาจากพฤติกรรมของมารดาในการเลี้ยงดูบุตรที่ไม่ถูกต้องในวัยเด็ก รวมถึงการดูแลทำความสะอาด ช่องปากไม่ถูกวิธี และมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมของนักเรียนจึงก่อให้เกิดโรคฟันผุอย่างรุนแรง ทำให้เด็กมีความเจ็บปวด เคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติ ได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอ ส่งผลต่อการเจริญเติบโตและการเรียนรู้ของเด็กได้
โรงเรียนบ้านอุได เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการ “หนูน้อยฟันดี มีสุข” ขึ้นมา เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียนเรื่องเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพในช่องปาก
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านอุได แปรงฟันได้สะอาดและถูกวิธี 1.นักเรียนร้อยละ 85 โรงเรียนบ้านอุได ที่แปรงฟันได้สะอาดและถูกวิธี 2.แบบสังเกตติดตามและประเมินผลกิจกรรม โดยการทดสอบการแปรงฟันของเด็กนักเรียนเดือนละ 1 ครั้ง |
0.00 | |
2 | เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านอุได มีความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันที่แข็งแรงและสามารถแนะนำให้กับนักเรียนในการปกครองได้ 1.ผู้ปกครองและนักเรียน โรงเรียนบ้านอุได ร้อยละ 85 มีความรู้และเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ช่องปากและฟันที่แข็งแรงและสามารถแนะนำให้กับนักเรียนในการปกครองได้ 2.แบบทดสอบความรู้ก่อนอบรมและหลังอบรม |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 111 | 20,915.00 | 0 | 0.00 | 20,915.00 | |
5 มี.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | อบรมให้ความรู้แก่นักเรียน | 111 | 20,165.00 | - | - | ||
5 มี.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | รณรงค์ให้นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน | 0 | 450.00 | - | - | ||
5 มี.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | ค่าใช้จ่ายอื่นๆ | 0 | 300.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 111 | 20,915.00 | 0 | 0.00 | 20,915.00 |
1.นักเรียนโรงเรียนบ้านอุได ร้อยละ 85 สามารถแปรงฟันและดูแลรักษาสุขภาพในช่องปากอย่างถูกวิธี
2.ผู้ปกครองเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านอุได ร้อยละ 85มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันที่แข็งแรงและสามารถแนะนำให้กับนักเรียนในการปกครองได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 มี.ค. 2568 11:11 น.