กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โรงเรียนบ้านหัวเขา ”
ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสาวธิดารัตน์ ลักขษร




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โรงเรียนบ้านหัวเขา

ที่อยู่ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2491-2-10 เลขที่ข้อตกลง 17/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โรงเรียนบ้านหัวเขา จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โรงเรียนบ้านหัวเขา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โรงเรียนบ้านหัวเขา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2491-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การมีสุขภาพที่ดีต้องอาศัยการดูแลตนเองควบคู่ไปกับการรักษาสิ่งแวดล้อมให้น่าอยู่ เพื่อป้องกันการเกิดโรคและลดมลพิษที่ส่งผลเสียต่อร่างกาย โรงเรียนเป็นสถานที่สำคัญในการปลูกฝังจิตสำนึกที่ดีเกี่ยวกับสุขภาพและป้องกันโรคให้กับเยาวชน ด้วยนักเรียนโรงเรียนบ้านหัวเขา ยังมีปัญหาด้านสุขภาพ ได้แก่ โรคเหงือกอักเสบ ฟันผุ โรคไข้เลือดออก ไข้หวัดใหญ่ โรคตาแดง โรคทางเดินอาหาร โรคหนอนพยาธิ เป็นต้น ซึ่งปัญหาเหล่านี้ ส่งผลต่อการเรียนของนักเรียน ทำให้นักเรียนขาดเรียน เรียนหนังสือได้ไม่เต็มที่ ซึ่งสาเหตุของปัญหาด้านสุขภาพของนักเรียน เกิดจากนักเรียนขาดความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง และสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากขยะ ที่ก่อให้เกิดผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนมากมาย ได้แก่ เป็นแหล่งอาหารและแหล่งเพาะพันธุ์ของยุง แมลงวัน แมลงสาบ ฯลฯเป็นแหล่งแพร่กระจายเชื้อโรค เกิดสภาพไม่น่าดู สกปรก ส่งกลิ่นเหม็น ทำลายสุนทรียภาพทางสิ่งแวดล้อม ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของนักเรียนและทำให้เกิดโรคติดต่อ โดยเฉพาะโรคไข้เลือดออกที่กำลังระบาดและแพร่เชื้ออย่างรุนแรง เป็นปัญหาสาธารสุขที่สำคัญของประเทศ ซึ่งสามารถแพร่พันธุ์ได้ดีในช่วงฤดูฝน การรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย เป็นเรื่องจำเป็นต้องกระทำอย่างต่อเนื่องและจริงจัง เพื่อตัดวงจรการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก จึงจะสามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ อีกทั้งยังมีโรคท้องถิ่น เช่น โควิด ฉี่หนู ฝีดาษ และอื่น ๆ โดยเป้าหมายหลัก คือ ต้องกำจัดขยะและแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคต่าง ๆ ดังนั้นต้องเปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมเพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดี นักเรียนมองเห็นคุณค่าของการดูแลสุขภาพ
จากปัญหาดังกล่าว โรงเรียนได้เห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรค โดยมีความเห็นร่วมกันที่จะให้นักเรียนได้รับความรู้ มีความเข้าใจในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง และสามารถปฏิบัติได้ถูกวิธี รวมทั้งส่งเสริมให้นักเรียน คณะครู และบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความเข้าใจและร่วมกันปรับปรุงสิ่งแวดล้อม เพื่อป้องกันโรคต่างๆ จึงขอเสนอโครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โรงเรียนบ้านหัวเขา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ เห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพ การป้องกันโรคติดต่อ และปฏิบัติได้อย่าง ถูกวิธี
  2. 2. เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนในการดูแลสุขภาพและ ป้องกันโรคร่วมกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โรงเรียนบ้านหัวเขา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 142
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีความรู้ เห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพ การป้องกันโรคติดต่อ และปฏิบัติได้อย่างถูกวิธี
  2. มีความร่วมมือระหว่างนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคร่วมกัน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ เห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพ การป้องกันโรคติดต่อ และปฏิบัติได้อย่าง ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : นักเรียน อย่างน้อย 80% สามารถตอบคำถามหรือทำแบบทดสอบเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคติดต่อได้ถูกต้องไม่น้อยกว่า 80% และนำไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
0.00

 

2 2. เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนในการดูแลสุขภาพและ ป้องกันโรคร่วมกัน
ตัวชี้วัด : มีการจัดกิจกรรมร่วมกันระหว่างนักเรียน ครู และบุคลากรโรงเรียน อย่างน้อย 4 ครั้งต่อปี เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค และมีการมีส่วนร่วมของผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 90%
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 142
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 142
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ เห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพ การป้องกันโรคติดต่อ และปฏิบัติได้อย่าง    ถูกวิธี (2) 2. เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนในการดูแลสุขภาพและ ป้องกันโรคร่วมกัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โรงเรียนบ้านหัวเขา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โรงเรียนบ้านหัวเขา จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2491-2-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวธิดารัตน์ ลักขษร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด