โครงการชาวชิงโคร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนสู่การจัดการสุขภาพอย่างยั่งยืน ปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการชาวชิงโคร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนสู่การจัดการสุขภาพอย่างยั่งยืน ปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | L5263-01-03 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชิงโค |
วันที่อนุมัติ | 13 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 3 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 50,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางอรพินธ์ เขียวชุม |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลชิงโค อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.266,100.524place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 3 มี.ค. 2568 | 30 ก.ย. 2568 | 50,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 50,000.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 620 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มเป้าหมายได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 80 |
||
2 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีค่าระดับน้ำตาลในเลือด จากการเจาะปลายนิ้ว หลังอดอาหารนานกว่า 8 ชั่วโมง ลดลง กลุ่มเสี่ยงมีค่าระดับน้ำตาลในเลือด จากการเจาะปลายนิ้ว หลังอดอาหารนานกว่า 8 ชั่วโมง ลดลงร้อยละ 70 |
||
3 | เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยมีค่าระดับน้ำตาลในเลือด จากการเจาะปลายนิ้ว หลังอดอาหารนานกว่า 8 ชั่วโมง มากกว่า 126 mg/dl หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1 เดือน ได้รับการส่งต่อพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัย กลุ่มสงสัยป่วยมีค่าระดับน้ำตาลในเลือด จากการเจาะปลายนิ้ว หลังอดอาหารนานกว่า 8 ชั่วโมง มากกว่า 126 mg/dl หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1 เดือน ได้รับการส่งต่อพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัย ร้อยละ 70 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
3 มี.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. 3 อ. แก่กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วย โดยบูรณาการไปกับงานแพทย์แผนไทย | 620 | 50,000.00 | - | ||
รวม | 620 | 50,000.00 | 0 | 0.00 |
ประชาชนมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานส่งผลให้ครอบครัวและชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีนำไปสู่การพัฒนาระบบ เกิดเป็นรูปแบบแนวปฏิบัติในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเป้าหมายโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอื่นๆ เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไปในอนาคต
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 มี.ค. 2568 12:39 น.