สุขภาพดี ชีวีปลอดภัย ห่างไกลยาเสพติด ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ สุขภาพดี ชีวีปลอดภัย ห่างไกลยาเสพติด ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายณัฐพงศ์ พรายดัสถ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ สุขภาพดี ชีวีปลอดภัย ห่างไกลยาเสพติด ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3333-02-10 เลขที่ข้อตกลง 09/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"สุขภาพดี ชีวีปลอดภัย ห่างไกลยาเสพติด ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
สุขภาพดี ชีวีปลอดภัย ห่างไกลยาเสพติด ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " สุขภาพดี ชีวีปลอดภัย ห่างไกลยาเสพติด ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3333-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ด้วยสถานการณ์ประเทศไทยในปัจจุบันมีปัญหามากมายหลายด้านโดยเฉพาะด้านที่เกี่ยวกับเด็กและเยาวชนที่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด และมีการระบาดของยาเสพติดที่มีความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลจึงกำหนดให้การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วน ซึ่งมีการกำหนดให้เร่งรัดปราบปรามการค้ายาเสพติด และป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยงเข้าไปเป็นเหยื่อของยาเสพติด ซึ่งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดพบว่า มีเด็กและเยาวชน จำนวนไม่น้อยที่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งเกิดจากความตั้งใจ และเกิดจากการหลงผิดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อยากรู้อยากลอง อีกทั้งยังมีปัจจัยเสี่ยงต่างๆ อีกมากมาย เช่น เสียทรัพย์สินการเสียสุขภาพจิต ร่างกายไม่แข็งแรงสมบูรณ์ตามวัยที่ควรจะเป็น ซึ่งเป็นอุปสรรคสำคัญในการพัฒนาประเทศ และเป็นการทำลายทรัพยากรบุคคลซึ่งเป็นอนาคตและเป็นพลังในการพัฒนาประเทศให้ด้อยคุณภาพ อันจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ และเป็นภาระค่าใช้จ่ายงบประมาณของประเทศในการบำบัดรักษาผู้ป่วยที่เกิดจากการเสพยาเสพติด อีกทั้งยังเป็นปัญหาที่สร้างความรู้สึกสะเทือนใจและเจ็บปวดให้กับพ่อแม่ผู้ปกครอง และปัญหายาเสพติดได้นำมาซึ่งความรุนแรงในครอบครัวและอาชญากรรมต่างๆในสังคม เช่น การลักขโมย ฉกชิงวิ่งราวและการก่อปัญหาอาชญากรรมอื่นๆ ตามมาอีกมากมาย ดังนั้น เด็กและเยาวชนจำเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างเพียงพอ ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ต้องได้รับการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและการรู้ถึงโทษที่จะเกิดตามมา และสิ่งสำคัญคือการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชนให้หันมารักตัวเองมากขึ้น โดยผนึกกำลังทุกภาคส่วน ให้ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ และร่วมแรงร่วมใจเป็นพลังของแผ่นดินเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนเพื่อเป็นกำลังสำคัญของชาติต่อไป
สภาเด็กและเยาวชนตำบลเกาะนางคำ ได้มองเห็นถึงความสำคัญในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้หมดไปในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการป้องกัน แก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่และส่งเสริมสุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจของเยาวชนในพื้นที่ เพื่อสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ เพื่อที่จะได้ช่วยกันป้องกันและแก้ไขปัญหาและผลกระทบต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กนักเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเสพยาเสพติด
- เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพร่างกาย จิตใจ และป้องกันโรคที่มาจากการเสพยาเสพติด
- เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของเด็กนักเรียนให้เกิดการตื่นตัวในการดูแลสุขภาพร่างกาย จิตใจตัวเอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด และมีส่วนร่วมในการลดปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมเตรียมความพร้อม
- อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษและปัญหาสุขภาพจากการเสพสารเสพติด
- ประเมินความรู้ ก่อน - หลังเข้ารับการอบรม
- สรุปผลการดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กและเยาวชนมีการตื่นตัวในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
- เด็กและเยาวชนได้มีความรู้ รับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติดและสามารถสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านจิตใจให้กับเด็กเยาวชนในเรื่องยาเสพติด
- สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิด สร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกาย จิตใจให้กับเด็กและเยาวชน ไม่ตกเป็นทาสของอบายมุขโดยง่าย
- ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการช่วยแก้ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดในพื้นที่
- เด็กและเยาวชนมีภูมิคุ้มกันมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลร่างกายและจิตใจให้สมบูรณ์มีความพร้อมในอนาคต
- มีเครือข่ายเด็กและเยาวชนที่คอยเฝ้าระวังปัญหาระหว่างบ้านโรงเรียนชุมชนและกลุ่มเพื่อนวัยรุ่น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กนักเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเสพยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเสพยาเสพติด ร้อยละ 70
0.00
2
เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพร่างกาย จิตใจ และป้องกันโรคที่มาจากการเสพยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพร่างกาย จิตใจ และป้องกันโรคที่มาจากการเสพยาเสพติด เช่น HIV ,โรคซึมเศร้า ร้อยละ 70
0.00
3
เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของเด็กนักเรียนให้เกิดการตื่นตัวในการดูแลสุขภาพร่างกาย จิตใจตัวเอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด และมีส่วนร่วมในการลดปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมีความตระหนัก และมีความรู้ในการดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจเพื่อไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดต่อไป ร้อยละ 80
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กนักเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเสพยาเสพติด (2) เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพร่างกาย จิตใจ และป้องกันโรคที่มาจากการเสพยาเสพติด (3) เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของเด็กนักเรียนให้เกิดการตื่นตัวในการดูแลสุขภาพร่างกาย จิตใจตัวเอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด และมีส่วนร่วมในการลดปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเตรียมความพร้อม (2) อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษและปัญหาสุขภาพจากการเสพสารเสพติด (3) ประเมินความรู้ ก่อน - หลังเข้ารับการอบรม (4) สรุปผลการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
สุขภาพดี ชีวีปลอดภัย ห่างไกลยาเสพติด ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3333-02-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายณัฐพงศ์ พรายดัสถ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ สุขภาพดี ชีวีปลอดภัย ห่างไกลยาเสพติด ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายณัฐพงศ์ พรายดัสถ์
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3333-02-10 เลขที่ข้อตกลง 09/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"สุขภาพดี ชีวีปลอดภัย ห่างไกลยาเสพติด ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
สุขภาพดี ชีวีปลอดภัย ห่างไกลยาเสพติด ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " สุขภาพดี ชีวีปลอดภัย ห่างไกลยาเสพติด ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3333-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ด้วยสถานการณ์ประเทศไทยในปัจจุบันมีปัญหามากมายหลายด้านโดยเฉพาะด้านที่เกี่ยวกับเด็กและเยาวชนที่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด และมีการระบาดของยาเสพติดที่มีความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลจึงกำหนดให้การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วน ซึ่งมีการกำหนดให้เร่งรัดปราบปรามการค้ายาเสพติด และป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยงเข้าไปเป็นเหยื่อของยาเสพติด ซึ่งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดพบว่า มีเด็กและเยาวชน จำนวนไม่น้อยที่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งเกิดจากความตั้งใจ และเกิดจากการหลงผิดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อยากรู้อยากลอง อีกทั้งยังมีปัจจัยเสี่ยงต่างๆ อีกมากมาย เช่น เสียทรัพย์สินการเสียสุขภาพจิต ร่างกายไม่แข็งแรงสมบูรณ์ตามวัยที่ควรจะเป็น ซึ่งเป็นอุปสรรคสำคัญในการพัฒนาประเทศ และเป็นการทำลายทรัพยากรบุคคลซึ่งเป็นอนาคตและเป็นพลังในการพัฒนาประเทศให้ด้อยคุณภาพ อันจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ และเป็นภาระค่าใช้จ่ายงบประมาณของประเทศในการบำบัดรักษาผู้ป่วยที่เกิดจากการเสพยาเสพติด อีกทั้งยังเป็นปัญหาที่สร้างความรู้สึกสะเทือนใจและเจ็บปวดให้กับพ่อแม่ผู้ปกครอง และปัญหายาเสพติดได้นำมาซึ่งความรุนแรงในครอบครัวและอาชญากรรมต่างๆในสังคม เช่น การลักขโมย ฉกชิงวิ่งราวและการก่อปัญหาอาชญากรรมอื่นๆ ตามมาอีกมากมาย ดังนั้น เด็กและเยาวชนจำเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างเพียงพอ ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ต้องได้รับการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและการรู้ถึงโทษที่จะเกิดตามมา และสิ่งสำคัญคือการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชนให้หันมารักตัวเองมากขึ้น โดยผนึกกำลังทุกภาคส่วน ให้ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ และร่วมแรงร่วมใจเป็นพลังของแผ่นดินเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนเพื่อเป็นกำลังสำคัญของชาติต่อไป
สภาเด็กและเยาวชนตำบลเกาะนางคำ ได้มองเห็นถึงความสำคัญในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้หมดไปในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการป้องกัน แก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่และส่งเสริมสุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจของเยาวชนในพื้นที่ เพื่อสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ เพื่อที่จะได้ช่วยกันป้องกันและแก้ไขปัญหาและผลกระทบต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กนักเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเสพยาเสพติด
- เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพร่างกาย จิตใจ และป้องกันโรคที่มาจากการเสพยาเสพติด
- เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของเด็กนักเรียนให้เกิดการตื่นตัวในการดูแลสุขภาพร่างกาย จิตใจตัวเอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด และมีส่วนร่วมในการลดปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมเตรียมความพร้อม
- อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษและปัญหาสุขภาพจากการเสพสารเสพติด
- ประเมินความรู้ ก่อน - หลังเข้ารับการอบรม
- สรุปผลการดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กและเยาวชนมีการตื่นตัวในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
- เด็กและเยาวชนได้มีความรู้ รับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติดและสามารถสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านจิตใจให้กับเด็กเยาวชนในเรื่องยาเสพติด
- สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิด สร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกาย จิตใจให้กับเด็กและเยาวชน ไม่ตกเป็นทาสของอบายมุขโดยง่าย
- ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการช่วยแก้ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดในพื้นที่
- เด็กและเยาวชนมีภูมิคุ้มกันมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลร่างกายและจิตใจให้สมบูรณ์มีความพร้อมในอนาคต
- มีเครือข่ายเด็กและเยาวชนที่คอยเฝ้าระวังปัญหาระหว่างบ้านโรงเรียนชุมชนและกลุ่มเพื่อนวัยรุ่น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กนักเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเสพยาเสพติด ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเสพยาเสพติด ร้อยละ 70 |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพร่างกาย จิตใจ และป้องกันโรคที่มาจากการเสพยาเสพติด ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพร่างกาย จิตใจ และป้องกันโรคที่มาจากการเสพยาเสพติด เช่น HIV ,โรคซึมเศร้า ร้อยละ 70 |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของเด็กนักเรียนให้เกิดการตื่นตัวในการดูแลสุขภาพร่างกาย จิตใจตัวเอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด และมีส่วนร่วมในการลดปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมีความตระหนัก และมีความรู้ในการดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจเพื่อไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดต่อไป ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กนักเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเสพยาเสพติด (2) เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพร่างกาย จิตใจ และป้องกันโรคที่มาจากการเสพยาเสพติด (3) เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของเด็กนักเรียนให้เกิดการตื่นตัวในการดูแลสุขภาพร่างกาย จิตใจตัวเอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด และมีส่วนร่วมในการลดปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเตรียมความพร้อม (2) อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษและปัญหาสุขภาพจากการเสพสารเสพติด (3) ประเมินความรู้ ก่อน - หลังเข้ารับการอบรม (4) สรุปผลการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
สุขภาพดี ชีวีปลอดภัย ห่างไกลยาเสพติด ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3333-02-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายณัฐพงศ์ พรายดัสถ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......