ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (กิจกรรมรถขาไถในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะยวน) ปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (กิจกรรมรถขาไถในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะยวน) ปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L3333-03-15 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะยวน |
วันที่อนุมัติ | 10 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 28 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 10,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวสุชารัต ขวัญรอด |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายกำพล เศรษฐสุข |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 15 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542มารตรา22การจัดการศึกษาต้องยึดหลักผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ และหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.2546 มุ่งให้เด็กพัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อให้เด็กมีคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ซึ่งเด็กปฐมวัยเรียนรู้ผ่านการเล่นเรียนรู้อย่างมีความสุขการปฏิรูปการเรียนรู้ต้องปรับเปลี่ยนกระบวนการทัศน ในการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนสำคัญที่สุด ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ง พ.ศ. 2542 ปรับปรุงแก้ไข (ฉบับที่2) พ.ศ.2545 ที่ยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด การพัฒนาระบบการสร้างเสริมสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กแบบบูรณาการกับกระบวนการ การจัดการเรียนรู้และกิจกรรมในศูนย์เด็กเล็กตามแนวทางการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย สุขภาพเป็นปัจจัยที่สำคัญในการดำรงชีวิต ท่าบุคคลมีสุขภาพดีจะเป็นพื้นบานสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต และการพัฒนาด้านสุขภาพอนามัยจะต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดตั้งแต่วัยเด็ก การเฝ้าระวังสุขภาพในวัยเด็กปฐมวัย ซึ่งสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตให้พร้อมที่จะทำประโยชน์ให้สังคม
ตามบทบาทและหน้าที่ของตน ในฐานพลเมืองดีตามระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยผู้เรียนมีความรู้และทักษะพื้นฐานในการดำรงชีวิต ทันต่อการเปลี่ยนแปลง มีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจสามารถคร่องชีวิตอย่างเป็นสุข
ในปัจจุบันการปฏิรูปการศึกษาได้ปฏิรูปไปสู่การส่งเสริมสุขภาพเป็นกิจกรรมที่สำคัญและจำเป็นมากในสถานศึกษา เพราะการที่เด็กและเยาวชนมีสุขดี สมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจส่งผลให้สามารถเรียนหรือทำกิจกรรมต่างไปด้วยดีมีประสิทธิภาพ ด้วยการจัดกิจกรรมรถขาไถเพราะช่วยส่งเสริมพัฒนาการของเด็กทุกด้าน ทั้งการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ให้แข่งแรง เป็นการฝึกการทรงตัว รวมทั้งช่วยฝึกสายตา การใช้มือและแขนบังคับทิศทาง การใช้กล้ามเนื้อขาที่ออกแรงเดิน เพื่อให้เด็กปฐมวัยเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป ดังนั้นทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้าน
เกาะยวน จึงจัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (กิจกรรมรถขาไถ) ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อเด็กมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านสังคม ด้านอารมณ์จิตใจ ด้านสติปัญญา เด็ก ร้อยละ 90 มีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านสังคม ด้านอารมณ์จิตใจ ด้านสติปัญญา |
0.00 | |
2 | เพื่อเด็กได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เด็ก ร้อยละ 80 มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง อารมณ์แจ่มใส มีความมั่นใจและกล้าแสดงออก |
0.00 | |
3 | เพื่อเด็กมีทักษะในการทรงตัว และเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างคล่องแคล่วและมั่นคง ร้อยละ 90 มีทักษะในการทรงตัว และเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างคล่องแคล่วและมั่นคง |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 60 | 10,000.00 | 0 | 0.00 | |
28 มี.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน | 0 | 0.00 | - | ||
28 มี.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | ประเมินพัฒนาการและทดสอบกล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ ของนักเรียน ก่อนเข้าร่วมกิจกรรม | 15 | 0.00 | - | ||
28 มี.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | จัดซื้อรถขาไถและอุปกรณ์ป้องกันสำหรับเด็กปฐมวัย | 15 | 10,000.00 | - | ||
28 มี.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | จัดกิจกรรมออกกำลังกายด้วยรถขาไถหรือ Balance Bike เพื่อการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ ฝึกการทรงตัว การใช้มือและแขนบังคับทิศทาง การใช้กล้ามเนื้อขา โดยบูรณาการเข้ากับกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ | 15 | 0.00 | - | ||
28 มี.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | ประเมินพัฒนาการและทดสอบกล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ ของนักเรียน หลังเข้าร่วมกิจกรรม | 15 | 0.00 | - | ||
28 มี.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน | 0 | 0.00 | - |
1.เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านสังคม ด้านอารมณ์จิตใจ ด้านสติปัญญา 2.เด็กได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ 3.เด็กมีทักษะในการทรงตัว และเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างคล่องแคล่วและมั่นคง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 มี.ค. 2568 20:52 น.