กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำเหนือ ด้วยจักรยานขาไถ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางสกะ หมานหมิด




ชื่อโครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำเหนือ ด้วยจักรยานขาไถ ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 68-L3333-03-17 เลขที่ข้อตกลง 16/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำเหนือ ด้วยจักรยานขาไถ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำเหนือ ด้วยจักรยานขาไถ ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำเหนือ ด้วยจักรยานขาไถ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3333-03-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสภาพปัญหาของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำเหนือ ผลจากการประเมินและการสังเกตพฤติกรรมของเด็กจากการเล่นและการเคลื่อนไหวตลอดปีการศึกษา ปรากฏว่ามีเด็ก จำนวน 3 คน จากจำนวนที่เข้ารับการเลี้ยงดู 18 คน คิดเป็นร้อยละ 16.7 การเคลื่อนไหวที่ไม่สมวัย ล้มบ่อย สะดุดบ่อย ไม่ชอบวิ่ง ไม่ชอบกระโดด ไมชอบเล่นปีนป่าย และเครื่องเล่นสนาม มักจะนั่งอยู่ที่เดียว และมีบางคนเคลื่อนไหวค่อยข้างช้า ครูต้องคอยกระตุ้น ให้วิ่ง ให้กระโดด และให้ร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ครูต้องคอยสังเกตุอย่างสม่ำเสมอ
ในการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ การส่งเสริมกิจกรรมกล้ามเนื้อใหญ่ เป็นกิจกรรมที่สำคัญและจำเป็นมากในเด็กปฐมวัย เพราะการที่เด็กมีสุขภาพที่ดี สมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจส่งผลให้สามารถเรียนหรือทำกิจกรรมต่างไปด้วยดีมีประสิทธิภาพ และกิจกรรมรถขาไถสามารถส่งเสริมพัฒนาการของเด็กทุกด้าน ทั้งการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ให้แข็งแรงคล่องแคล่วว่องไว ฝึกการทรงตัว รวมทั้งช่วยฝึกสายตา การใช้มือและแขนบังคับทิศทาง การใช้กล้ามเนื้อขาที่ออกแรงเดิน เพื่อให้เด็กปฐมวัยเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป ดังนั้นทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำเหนือ จึงจัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (กิจกรรมรถขาไถ) ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการ 4 ด้าน สมวัย
  2. เพื่อให้เด็กได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
  3. เพื่อให้เด็กมีทักษะในการทรงตัวและเคลื่อนไหวได้อย่างคล่องแคล่วและมั่นคง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 2. ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
  2. ประเมินพัฒนาการและทดสอบกล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ ของนักเรียน ก่อนเข้าร่วมกิจกรรม
  3. จัดซื้อรถขาไถและอุปกรณ์ป้องกันสำหรับเด็กปฐมวัย
  4. จัดกิจกรรมออกกำลังกายด้วยรถขาไถหรือ Balance Bike เพื่อการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ ฝึกการทรงตัว การใช้มือและแขนบังคับทิศทาง การใช้กล้ามเนื้อขา โดยบูรณาการเข้ากับกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
  5. ประเมินพัฒนาการและทดสอบกล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ ของนักเรียน หลังเข้าร่วมกิจกรรม
  6. สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 18
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน สมวัย
  2. เด็กปฐมวัยได้ออกกำลังและมีสุขภาพแข็งแรงเติบโตสมวัย
  3. เด็กมีทักษะในการทรงตัวและเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างคล่องแคล่วว่องไว

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการ 4 ด้าน สมวัย
ตัวชี้วัด : เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำเหนือ ร้อยละ 90 มีพัฒนาการ 4 ด้าน เหมาะสมกับวัย
0.00

 

2 เพื่อให้เด็กได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด : เพื่อให้เด็กได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
0.00

 

3 เพื่อให้เด็กมีทักษะในการทรงตัวและเคลื่อนไหวได้อย่างคล่องแคล่วและมั่นคง
ตัวชี้วัด : เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำเหนือ ร้อยละ 90 มีทักษะในการทรงตัวและเคลื่อนไหวได้อย่างคล่องแคล่วว่องไว
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 18
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 18
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการ 4 ด้าน สมวัย (2) เพื่อให้เด็กได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ (3) เพื่อให้เด็กมีทักษะในการทรงตัวและเคลื่อนไหวได้อย่างคล่องแคล่วและมั่นคง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 2. ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน (2) ประเมินพัฒนาการและทดสอบกล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ ของนักเรียน ก่อนเข้าร่วมกิจกรรม (3) จัดซื้อรถขาไถและอุปกรณ์ป้องกันสำหรับเด็กปฐมวัย (4) จัดกิจกรรมออกกำลังกายด้วยรถขาไถหรือ Balance Bike เพื่อการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ ฝึกการทรงตัว การใช้มือและแขนบังคับทิศทาง การใช้กล้ามเนื้อขา โดยบูรณาการเข้ากับกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ (5) ประเมินพัฒนาการและทดสอบกล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ ของนักเรียน หลังเข้าร่วมกิจกรรม (6) สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำเหนือ ด้วยจักรยานขาไถ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 68-L3333-03-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสกะ หมานหมิด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด