โครงการส่งเสริมทันตในเด็กปฐมวัย(ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตาสา)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมทันตในเด็กปฐมวัย(ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตาสา) ”
ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางรอสน๊ะ อูมา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตในเด็กปฐมวัย(ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตาสา)
ที่อยู่ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ L-4137-68-03-002 เลขที่ข้อตกลง 10/68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมทันตในเด็กปฐมวัย(ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตาสา) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตในเด็กปฐมวัย(ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตาสา)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตในเด็กปฐมวัย(ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตาสา) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ L-4137-68-03-002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,275.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพช่องปากนั้น มีความสัมพันธ์กับสุขภาพร่างกาย การดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีมีผลต่อการ มีสุขภาพกายที่ดีด้วย แต่ปัญหาสุขภาพช่องปากนั้นไม่ได้มีสาเหตุเกิดจากภายในช่องปากเพียงอย่างเดียว แต่มีปัญหาที่เกิดจากสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันด้วย ตัวอย่างเช่น โรคฟันผุซึ่งเป็นปัญหาในช่องปากที่พบได้ทั่วไป ก็มีปัจจัยร่วมหลายอย่างที่ส่งเสริมให้เกิดโรคนอกเหนือไปจากเชื้อโรคในช่องปาก เช่น อาจมาจากตัวบุคคลในเด็กเอง ที่ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของสุขภาพช่องปากและการทำความสะอาดช่องปากของตนเอง การอยู่ในครอบครัว ที่ขาดการดูแลเอาใจใส่จากผู้ปกครองจากสภาพความเป็นอยู่ของครอบครัวที่ไม่เอื้อต่อการใส่ใจสุขภาพช่องปาก นอกจากนี้สื่อโฆษณาเกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่มก็มีอิทธิพลอย่างมากในสังคมปัจจุบัน สภาพเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมต่างๆ ล้วนมีส่วนที่ทำให้เกิดโรคได้เช่นกัน ด้วยเหตุผลข้างต้นจึงได้คิดที่จะกระตุ้นความสนใจของผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้องให้หันมาสนใจและได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันมากขึ้นอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ สามารถถ่ายทอดความรู้ให้เด็กต่อได้ และถ้าผู้ปกครองหรือผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับความรู้ที่ถูกต้อง ก็จะสามารถดูแลสุขภาพช่องปากและฟันของเด็กได้เป็นอย่างดี ซึ่งเด็กเล็กจำเป็นต้องได้รับการดูแลจากผู้ปกครองอย่างใกล้ชิด ซึ่งโครงการดังกล่าวจะดำเนินการผ่านการจัดกิจกรรม อบรมให้ความรู้ สร้างความเข้าใจให้กับผู้ปกครอง และสามารถถ่ายทอดให้กับเด็กต่อไปได้อย่างถูกต้อง
ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตาสา สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน ได้เล็งเห็นความสำคัญเรื่องสุขภาพช่องปากในวัยเด็กเป็นอย่างมาก เพราะที่ผ่านมาได้ดำเนินการมาอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้เด็กรวมทั้งผู้เกี่ยวข้อง รับรู้และเข้าใจหลักการทำความสะอาดช่องปากของตนเอง รวมทั้งได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันมากขึ้น อย่างถูกต้องและถูกวิธี จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมและเฝ้าระวังด้านสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย
- เพื่อลดปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัย และส่งเสริมสุขภาพปากที่ดีในระยะยาว
- เพื่อให้บุคลากร ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กเล็ก
- กิจกรรมส่งเสริมทันตในเด็กปฐมวัย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
8.1 เด็กมีการส่งเสริมการดูแลทันตสุขภาพมากขึ้น
8.2 เด็กสามารถแปรงฟันได้ถูกวิธีและมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
8.3 บุคลากรและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการช่วยส่งเสริมการดูแลทันตสุขภาพในเด็ก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมส่งเสริมทันตในเด็กปฐมวัย
วันที่ 1 มีนาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1 เพื่อส่งเสริมและเฝ้าระวังด้านสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย
2 เพื่อลดปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัย และส่งเสริมสุขภาพปากที่ดีในระยะยาว
3 เพื่อให้บุคลากร ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1 ร้อยละ 90 เด็กได้รับการส่งเสริมและเฝ้าระวังด้านสุขภาพช่องปาก
2 ร้อยละ 85 เด็กมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพฟันที่ดีขึ้น
3 ร้อยละ 90บุคลากร ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากให้กับเด็กที่ถูกต้อง
187
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมและเฝ้าระวังด้านสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 เด็กได้รับการส่งเสริมและเฝ้าระวังด้านสุขภาพช่องปาก
2
เพื่อลดปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัย และส่งเสริมสุขภาพปากที่ดีในระยะยาว
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 เด็กมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพฟันที่ดีขึ้น
3
เพื่อให้บุคลากร ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90บุคลากร ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากให้กับเด็กที่ถูกต้อง
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมและเฝ้าระวังด้านสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย (2) เพื่อลดปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัย และส่งเสริมสุขภาพปากที่ดีในระยะยาว (3) เพื่อให้บุคลากร ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กเล็ก (2) กิจกรรมส่งเสริมทันตในเด็กปฐมวัย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมทันตในเด็กปฐมวัย(ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตาสา) จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ L-4137-68-03-002
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางรอสน๊ะ อูมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมทันตในเด็กปฐมวัย(ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตาสา) ”
ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางรอสน๊ะ อูมา
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ L-4137-68-03-002 เลขที่ข้อตกลง 10/68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมทันตในเด็กปฐมวัย(ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตาสา) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตในเด็กปฐมวัย(ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตาสา)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตในเด็กปฐมวัย(ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตาสา) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ L-4137-68-03-002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,275.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพช่องปากนั้น มีความสัมพันธ์กับสุขภาพร่างกาย การดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีมีผลต่อการ มีสุขภาพกายที่ดีด้วย แต่ปัญหาสุขภาพช่องปากนั้นไม่ได้มีสาเหตุเกิดจากภายในช่องปากเพียงอย่างเดียว แต่มีปัญหาที่เกิดจากสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันด้วย ตัวอย่างเช่น โรคฟันผุซึ่งเป็นปัญหาในช่องปากที่พบได้ทั่วไป ก็มีปัจจัยร่วมหลายอย่างที่ส่งเสริมให้เกิดโรคนอกเหนือไปจากเชื้อโรคในช่องปาก เช่น อาจมาจากตัวบุคคลในเด็กเอง ที่ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของสุขภาพช่องปากและการทำความสะอาดช่องปากของตนเอง การอยู่ในครอบครัว ที่ขาดการดูแลเอาใจใส่จากผู้ปกครองจากสภาพความเป็นอยู่ของครอบครัวที่ไม่เอื้อต่อการใส่ใจสุขภาพช่องปาก นอกจากนี้สื่อโฆษณาเกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่มก็มีอิทธิพลอย่างมากในสังคมปัจจุบัน สภาพเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมต่างๆ ล้วนมีส่วนที่ทำให้เกิดโรคได้เช่นกัน ด้วยเหตุผลข้างต้นจึงได้คิดที่จะกระตุ้นความสนใจของผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้องให้หันมาสนใจและได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันมากขึ้นอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ สามารถถ่ายทอดความรู้ให้เด็กต่อได้ และถ้าผู้ปกครองหรือผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับความรู้ที่ถูกต้อง ก็จะสามารถดูแลสุขภาพช่องปากและฟันของเด็กได้เป็นอย่างดี ซึ่งเด็กเล็กจำเป็นต้องได้รับการดูแลจากผู้ปกครองอย่างใกล้ชิด ซึ่งโครงการดังกล่าวจะดำเนินการผ่านการจัดกิจกรรม อบรมให้ความรู้ สร้างความเข้าใจให้กับผู้ปกครอง และสามารถถ่ายทอดให้กับเด็กต่อไปได้อย่างถูกต้อง ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตาสา สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน ได้เล็งเห็นความสำคัญเรื่องสุขภาพช่องปากในวัยเด็กเป็นอย่างมาก เพราะที่ผ่านมาได้ดำเนินการมาอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้เด็กรวมทั้งผู้เกี่ยวข้อง รับรู้และเข้าใจหลักการทำความสะอาดช่องปากของตนเอง รวมทั้งได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันมากขึ้น อย่างถูกต้องและถูกวิธี จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมและเฝ้าระวังด้านสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย
- เพื่อลดปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัย และส่งเสริมสุขภาพปากที่ดีในระยะยาว
- เพื่อให้บุคลากร ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กเล็ก
- กิจกรรมส่งเสริมทันตในเด็กปฐมวัย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
8.1 เด็กมีการส่งเสริมการดูแลทันตสุขภาพมากขึ้น 8.2 เด็กสามารถแปรงฟันได้ถูกวิธีและมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น 8.3 บุคลากรและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการช่วยส่งเสริมการดูแลทันตสุขภาพในเด็ก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมส่งเสริมทันตในเด็กปฐมวัย |
||
วันที่ 1 มีนาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1 เพื่อส่งเสริมและเฝ้าระวังด้านสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย 2 เพื่อลดปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัย และส่งเสริมสุขภาพปากที่ดีในระยะยาว 3 เพื่อให้บุคลากร ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1 ร้อยละ 90 เด็กได้รับการส่งเสริมและเฝ้าระวังด้านสุขภาพช่องปาก 2 ร้อยละ 85 เด็กมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพฟันที่ดีขึ้น 3 ร้อยละ 90บุคลากร ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากให้กับเด็กที่ถูกต้อง
|
187 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมและเฝ้าระวังด้านสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 เด็กได้รับการส่งเสริมและเฝ้าระวังด้านสุขภาพช่องปาก |
|
|||
2 | เพื่อลดปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัย และส่งเสริมสุขภาพปากที่ดีในระยะยาว ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 เด็กมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพฟันที่ดีขึ้น |
|
|||
3 | เพื่อให้บุคลากร ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90บุคลากร ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากให้กับเด็กที่ถูกต้อง |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมและเฝ้าระวังด้านสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย (2) เพื่อลดปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัย และส่งเสริมสุขภาพปากที่ดีในระยะยาว (3) เพื่อให้บุคลากร ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กเล็ก (2) กิจกรรมส่งเสริมทันตในเด็กปฐมวัย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมทันตในเด็กปฐมวัย(ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตาสา) จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ L-4137-68-03-002
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางรอสน๊ะ อูมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......