โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียนและเด็กวัยเรียน โรงเรียนวัดประดู่
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียนและเด็กวัยเรียน โรงเรียนวัดประดู่ |
รหัสโครงการ | 68-L7251-02-05 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนวัดประดู่ |
วันที่อนุมัติ | 14 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | - |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 7,900.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางเบญจมาศ ดำมะนิลศรี |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบ่อตรุ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.631,100.374place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรงเรียนได้มองเห็นถึงความสำคัญของสุขภาพช่องปากของนักเรียนสุขภาพช่องปากกมีความสัมพันธ์กับสุขภาพร่างกายของนักเรียนและเนื่องจากเป็นโครงการต่อเนื่องจากปีงบประมาณ 2568 จึงขอสนับสนุนเพื่อให้เด็กได้มีการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างสม่ำเสมอและได้เข้าร่วมกิจกรรม เด็กสามารถนำความรู้และประสบการณ์ต่าง ๆ ดูแลตนเองและนำไปเผยแพร่ยังกลุ่มเพื่อนตลอดจนผู้ใกล้ชิดต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพช่องปากสร้างสุขนิสัยที่ดี
|
||
2 | เพื่อส่งเสริมให้เด็กเห็นความสำคัญของการดูแลฟันตั้งแต่ซี่แรก
|
||
3 | ลดปัญหาโรคฟันผุและเหงือกอักเสบในเด็ก
|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
2.1 ประชุมวางแผน ดำเนินงานและมอบหมายผู้เกี่ยวข้อง 2.2 จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและฟัน 2.3 ดำเนินกิจกรรมตามแผน 2.3.1. ส่งเสริมให้เด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ในการรักษาความสะอาดในช่องปากและฟัน จากครูและการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ ป้ายสื่อความรู้ เพื่อให้นักเรียนรู้จักและเข้าใจขั้นตอนการแปรงฟัน ดูแลช่องปากที่ถูกต้อง ถูกวิธี 2.3.2 ครูที่ปรึกษา ตรวจสุขภาพช่องปาก และส่งเสริมให้นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันทุกวัน 2.3.3 ปฏิบัติการการดูแลสุขภาพช่องปากโดยการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารทุกวัน 2.3.4 กำกับ ติดตามการดำเนินงานการดูและสุขภาพช่องปากหลังรับประทานอาหารกลางวันที่โรงเรียน และการดูแลสุขภาพช่องปากที่บ้านเช้าและก่อนนอนเป็นประจำทุกวัน 2.3.5 ครูที่ปรึกษา ดูแล ติดตาม พฤติกรรมการรักษาความสะอาดช่องปากและฟันของเด็กนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ จนกระทั่งนักเรียนเกิดโรคฟันผุลดลง
1 นักเรียนได้รับการส่งเสริมให้มีพฤติกรรมสุขภาพช่องปากสร้างสุขนิสัยที่ดี 2 เด็กในวัยเรียนเห็นความสำคัญของการดูแลฟันตั้งแต่ซี่แรก 3 ฟันในเด็กวัยเรียนผุและเหงือกอักเสบลดลง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 มี.ค. 2568 11:33 น.