กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการดูแลใส่ใจคุณภาพชีวิตผู้ป่วยติดเตียงในชุมชนตำบลลำพะยา ประจำปี 2568 ”
ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวณัฐวิภา นิบูร์




ชื่อโครงการ โครงการดูแลใส่ใจคุณภาพชีวิตผู้ป่วยติดเตียงในชุมชนตำบลลำพะยา ประจำปี 2568

ที่อยู่ ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4140-1-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลใส่ใจคุณภาพชีวิตผู้ป่วยติดเตียงในชุมชนตำบลลำพะยา ประจำปี 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำพะยา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลใส่ใจคุณภาพชีวิตผู้ป่วยติดเตียงในชุมชนตำบลลำพะยา ประจำปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลใส่ใจคุณภาพชีวิตผู้ป่วยติดเตียงในชุมชนตำบลลำพะยา ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4140-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 75,430.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำพะยา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์สังคมผู้สูงอายุในประเทศไทย ที่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มรูปแบบ เป็นวัยที่ต้องได้รับการดูแลเป็นพิเศษ เนื่องด้วยภาวะถดถอยของสมรรถภาพด้านต่างๆ ของร่างกายจนนำไปสู่การเป็นประชากรที่ต้องได้รับการพึ่งพิงในที่สุด จากสถานการณ์กลุ่มผู้สูงอายุติดเตียงประเทศไทยพบว่า มีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี ปัญหาของผู้สูงอายุติดเตียงที่พบส่วนใหญ่ ได้แก่ ภาวะกลืนลำบาก ภาวะการณ์ติดเชื้อ ภาวะเคลื่อนไหวลำบาก ท้องผูก นอนไม่หลับ การดูแลผู้สูงอายุกลุ่มติดเตียงจำเป็นต้องมีรูปแบบการดูแลส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสมในเรื่องสุขลักษณะส่วนบุคคล การเสริมศักยภาพครอบครัวในการดูแลผู้สูงอายุ และการสร้างระบบดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในระดับพื้นที่ต่าง ๆ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทำเนียบ ตำบลลำพะยา อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ให้ความสำคัญครอบครัวที่มีผู้สูงอายุติดเตียงอยู่ในความดูแล จำเป็นต้องมีความเข้าใจในธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงของ ผู้สูงอายุติดเตียง สมาชิกในครอบครัวสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุติดเตียงได้อย่างเหมาะสม ผู้สูงอายุที่ติดเตียงเป็นผู้สูงอายุที่มีข้อจำกัดในการดูแลตนเอง ไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรได้เอง และต้องการการดูแลอย่างต่อเนื่องระยะยาว (Long Term Care) กิจกรรมการดูแล ผู้สูงอายุที่ติดเตียงมีทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคมเป็นการดูแลแบบองค์รวม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับผู้ป่วยติดเตียง
  2. เพื่อให้ข้อมูล ผู้ป่วยติดเตียงได้รับการเยี่ยมบ้านและได้รับการช่วยเหลืออย่างเหมาะสม
  3. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยสามารถดูแลผู้ป่วยได้ถูกต้อง
  4. ผู้ป่วยติดเตียงมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นดำรงชีวิตอยู่ในชุมชนอย่างมีความสุข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สำรวจกลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้ป่วยสูงอายุติดเตียง ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้
  2. จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการดำเนินงาน
  3. จัดทีมสหวิชาชีพจนท.รพ.สต.บ้านทำเนียบ ลงเยี่ยมบ้านเพื่อดูแลเรื่องอาหาร การรับประทานยา การดูแลสุขภาพช่องปาก และการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ
  4. จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 14
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

สมาชิกในครอบครัวผู้สูงอายุกลุ่มติดเตียงที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองในการทำกิจวัตรประจำวันได้
สามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุติดเตียงได้อย่างเหมาะสม ดูแลเรื่องอาหาร การรับประทานยา การดูแลสุขภาพช่องปาก การยืดเหยียดกล้ามเนื้อ รวมทั้งจิตใจ อารมณ์และสังคมเป็นการดูแลแบบองค์รวม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับผู้ป่วยติดเตียง
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อให้ข้อมูล ผู้ป่วยติดเตียงได้รับการเยี่ยมบ้านและได้รับการช่วยเหลืออย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยสามารถดูแลผู้ป่วยได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :

 

4 ผู้ป่วยติดเตียงมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นดำรงชีวิตอยู่ในชุมชนอย่างมีความสุข
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 14
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 14
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับผู้ป่วยติดเตียง (2) เพื่อให้ข้อมูล ผู้ป่วยติดเตียงได้รับการเยี่ยมบ้านและได้รับการช่วยเหลืออย่างเหมาะสม (3) เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยสามารถดูแลผู้ป่วยได้ถูกต้อง (4) ผู้ป่วยติดเตียงมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นดำรงชีวิตอยู่ในชุมชนอย่างมีความสุข

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจกลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้ป่วยสูงอายุติดเตียง ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ (2) จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการดำเนินงาน (3) จัดทีมสหวิชาชีพจนท.รพ.สต.บ้านทำเนียบ ลงเยี่ยมบ้านเพื่อดูแลเรื่องอาหาร การรับประทานยา  การดูแลสุขภาพช่องปาก และการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ (4) จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการดูแลใส่ใจคุณภาพชีวิตผู้ป่วยติดเตียงในชุมชนตำบลลำพะยา ประจำปี 2568 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4140-1-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวณัฐวิภา นิบูร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด