กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ 3 ส 2 ส ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงลดโรค (NCDs) ”
ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางรสมี เจะมูซอ




ชื่อโครงการ โครงการ 3 ส 2 ส ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงลดโรค (NCDs)

ที่อยู่ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ L4137-68-02-005 เลขที่ข้อตกลง 14/68

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ 3 ส 2 ส ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงลดโรค (NCDs) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ 3 ส 2 ส ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงลดโรค (NCDs)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ 3 ส 2 ส ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงลดโรค (NCDs) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ L4137-68-02-005 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารสุขที่สำคัญของประเทศ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือด หลอดเลือดสมอง มะเร็ง ฯลฯ เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควรการเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยงที่มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย พฤติกรรมการสูบบุหรี่ การบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ รวมถึงภาวะเครียด และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิ โดรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง(CKD)โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง(CVD)เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวมองค์การอนามัยโลก(WHo)กล่าวว่านอกจากการบริการทางคลินิกแล้วการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมีความสำคัญและจำเป็นในการแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อดังกล่าว ซึ่งพบว่าแนวโน้มการเกิดโรคเพิ่มมากขึ้นทุกปี ทางคณะกรรมการของโครงการฯ เล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก การเข้าถึงชุมชน จึงได้จัดทำ 3อ2ส ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงโรค(NCDs)       จากข้อมูลการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในประชากร 35 ปีขึ้นไป ตำบลพร่อน จำนวน 1,829คน คัดกรองได้ 1,764 คิดเป็นร้อยละ 76.45 พบกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน จำนวน 34 คน และพบกลุ่มเสี่ยงสูงต่อความดันโลหิตสูง จำนวน 15 คน จำเป็นอย่างยิ่งที่จะส่งเสริมให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง เพื่อให้มีการเตรียมสุขภาพที่ดีก่อนถึงวัยผู้สูงอายุ ได้รู้จักมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมและเพื่อลดความเสี่ยงจากเกิดโรคเรื้อรัง เพื่อดำเนินการป้องกันการเกิดผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่ ชมรมผู้สูงวสัยแข็งแรงบ้านตาสา จึงจัดโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจใน เรื่อง 3อ. 2 ส (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย/งดสุรา งดสูบบุหรี่
  2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ในการประเมินองค์ประกอบในร่างกายของตนเอง
  3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องได้
  4. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามผลการปรับเปลี่ยน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้การ 3อ 2ส / การนับคาร์โบไฮเดรต หรือ การนับคาร์บ
  2. จัดอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

8.1ประชาชนตระหนักในการดูแลสุขภาพ เพื่อมีการสุขภาพที่ดีและป้องกันโรคเรื้อรัง NSDs 8.2ลดอัตราการป่วยของโรคเรื้อรัง สำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจใน เรื่อง 3อ. 2 ส (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย/งดสุรา งดสูบบุหรี่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ เรื่อง 3 2 ส (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย/งดสุรา งดสูบบุหรี่

 

2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ในการประเมินองค์ประกอบในร่างกายของตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ในการประเมินองค์ประกอบในร่างกายของตนเอง

 

3 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย ไม่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

4 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามผลการปรับเปลี่ยน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจใน เรื่อง 3อ. 2 ส (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย/งดสุรา งดสูบบุหรี่ (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ในการประเมินองค์ประกอบในร่างกายของตนเอง (3) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องได้ (4) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามผลการปรับเปลี่ยน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้การ 3อ 2ส / การนับคาร์โบไฮเดรต หรือ การนับคาร์บ (2) จัดอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ 3 ส 2 ส ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงลดโรค (NCDs) จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ L4137-68-02-005

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรสมี เจะมูซอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด