กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว


“ โครงการลดพุงลดโรค (คลินิก DPAC) ”

ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
สถานีอนามัยบ้านบ่อทราย

ชื่อโครงการ โครงการลดพุงลดโรค (คลินิก DPAC)

ที่อยู่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดพุงลดโรค (คลินิก DPAC) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดพุงลดโรค (คลินิก DPAC)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดพุงลดโรค (คลินิก DPAC) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วนเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญซึ่งต้องเร่งแก้ไขเนื่องจากเป็นปัญหาหนึ่งซึ่งนำไปสู่ผลกระทบต่อสุขภาพเศรษฐกิจและปัญหาทางจิตสังคมอย่างชัดเจนโรคที่เป็นผลกระทบจากภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วนต่อสุขภาพที่พบในผู้ใหญ่ได้แก่ข้อเข่าเสื่อมภาวะอัมพฤกษ์อัมพาตความดันโลหิตสูงโรคหลอดเลือดหัวใจเบาหวานไขมันในเลือดสูงมะเร็งลำไส้โรคซึมเศร้าเป็นต้นและยังพบว่าการตายในผู้ที่อายุระหว่าง๒๐ – ๗๔ปีกว่าครึ่งหนึ่ง มีผลมาจากความอ้วนซึ่งโรคหัวใจและหลอดเลือดยังเป็นสาเหตุการตายของคนทั่วโลกปีละ ๑๗ล้านคนและมีแนวโน้มรุนแรงขึ้น โดยคาดว่าในปีพ.ศ.๒๕๖๕ทั่วโลกจะมีผู้เสียชีวิตจากโรคดังกล่าวประมาณ๒๕ล้านคนซึ่งจะมีประชากรในกลุ่มประเทศที่กำลังพัฒนาประมาณ ๑๙ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ ๗๖ของผู้เสียชีวิตทั้งหมด ปัญหาสุขภาพเหล่านี้ส่งผลให้เกิดการสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาโรค เป็นภาระของครอบครัวและประเทศนอกจากนี้ยังปรากฏว่าร้อยละ๒-๘ของค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชนในปัจจุบันเป็นค่าใช้จ่ายที่เป็นผลกระทบจากโรคอ้วนถ้าเป็นเช่นนี้ต่อไปในอีก๑๐ปีข้างหน้าค่าใช้จ่ายในส่วนนี้จะเพิ่มขึ้นอีกเป็นจำนวนมาก ในทศวรรษที่ผ่านมา ทำให้หลายประเทศทั่วโลกมีปัญหาเกี่ยวกับความชุกของภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วนเพิ่มขึ้นในทุกกลุ่มอายุอย่างรวดเร็ว สถิติประเทศไทยประเทศไทยมีภาระจากกลุ่มโรค NCDs ในสัดส่วนที่สูงกว่านานาชาติ โดยสาเหตุของการเสียชีวิตถึง ๓๐๐,๐๐๐กว่ารายในปี พ.ศ. ๒๕๕๒หรือ คิดเป็น ๗๓% ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเทศไทยมีสถิติการเสียชีวิตและผลกระทบจาก กลุ่มโรค NCDs มากกว่าทั้งโลกผลการสำรวจในปี พ.ศ. ๒๕๕๒กับกลุ่มเป้าหมายประชากรไทยวัยผู้ใหญ่ พบว่า๒๑.๔% เป็นโรคความดันโลหิตสูง และที่น่าเป็นห่วงคือ อัตราการรับรู้ว่า ตนเองเป็นโรคความดันโลหิตสูง อัตราการเข้าถึงบริการ และอัตราการควบคุม โรคความดันโลหิตสูงได้นั้นค่อนข้างต่ำ๖.๙% (๓.๒ล้านคน) มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูง อัตราการควบคุมได้ในกลุ่ม ผู้ที่มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูงยังอยู่ในเกณฑ์ไม่น่าพอใจ โดยเฉพาะประชากร ชายที่มีน้ำตาลในเลือดสูง พบว่า ๕๖.๗% ที่รู้ตัว และมีเพียง ๒๗.๑% ที่สามารถ ควบคุมภาวะน้ำตาลในเลือดได้๑๙.๔% หรือเกือบ ๙ล้านคน มีภาวะไขมันคลอเรสเตอรอลสูง โดยผู้หญิงมี ความชุกมากกว่าผู้ชายปี ๒๕๕๒ประชากรไทยเกือบ ๑ใน ๓เข้าข่ายภาวะน้ำหนักเกิน ส่วนอีก ๘.๕% เข้าข่ายโรคอ้วนข้อมูลการสำรวจสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของคนไทยที่อายุ ๑๕ปีขึ้นไป นอกจากนี้ ยังพบว่ามีสัดส่วนผู้ที่เป็นโรคอ้วนในช่วง ๒๐ปี ที่ผ่านมา ในชาย เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง (ปี ๒๕๓๕-๒๕๕๒) ถึง ๔เท่า(http://www.thaihealth.or.th/,๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๙) โรคอ้วนลงพุง (Metabolic Syndrome) เป็นฆาตกรเงียบที่หลายคนคาดไม่ถึง คนที่อ้วนลงพุงจะมีการสะสมของไขมันในช่องท้องมากเกินไป โดยมีเส้นรอบเอวของเพศชายเกิน ๓๖ นิ้ว หรือ ๙๐ เซนติเมตร เพศหญิงเกิน ๓๒ นิ้ว หรือ ๘๐ เซนติเมตรซึ่งไขมันเหล่านี้จะแตกตัวเป็น กรดไขมันอิสระเข้าสู่ตับ มีผลให้อินซูลินออกฤทธิ์ได้ไม่ดี เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลินซึ่งเป็นสาเหตุของโรคเบาหวาน และจากการสำรวจ “ภาวะอาหารและโภชนาการแห่งชาติ”พ.ศ.๒๕๔๖ - ๒๕๔๗ ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พบว่าคนไทยอายุ ๑๙ - ๗๔ ปี มีเส้นรอบเอวเกินเกณฑ์มาตรฐานสูงถึง ๒๘.๓% และในการสำรวจสุขภาพประชากรไทยปีล่าสุด พ.ศ.๒๕๔๗ พบว่า ประชากรในประเทศไทยที่อายุมากกว่า ๓๕ ปี มีเส้นรอบพุงเกินกำหนดประมาณ ๙.๓ ล้านคน โดยพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย คือ เพศหญิงอ้วนลงพุง ๕๒%ผู้ชาย ๒๒% และในรอบ ๗ ปีที่ผ่านมา มีคนไทยเป็นโรคอ้วนลงพุงเพิ่มเป็น ๑.๓ เท่า ในเขตเมืองเพิ่มถึง ๔๕% ในชนบท ๓๔% และคนที่มีรอบเอวเพิ่มขึ้นทุก ๕ เซนติเมตร จะมีโอกาสเป็นโรคเบาหวานเพิ่ม ๓-๕ เท่า จะเห็นได้ว่าเอวใหญ่ขึ้นเท่าไรก็ยิ่งเจ็บป่วยและตายเร็วขึ้นเท่านั้น จากการสำรวจสภาวะอ้วนลงพุงในประชาชนของกรมอนามัย ปี ๒๕๕๐ พบว่าคนไทยอายุมากกว่า ๑๕ ปีขึ้นไป เพศชายมีภาวะอ้วนลงพุง ร้อยละ/….. ร้อยละ ๒๔ และเพศหญิงร้อยละ ๖๐ โดยพบในผู้หญิงมากกว่าชาย ถึง ๒.๕ เท่าตัว ภาวะอ้วนลงพุงส่วนใหญ่จะเกิดจากพฤติกรรมการบริโภค กรรมพันธุ์ และไม่ออกกำลังกาย ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคเรื้อรังตามมา เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ หลอดเลือดสมองและมะเร็ง ประเทศไทยเรียกว่า โรควิถีชีวิตคือไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อโรคแต่เกิดมาจากสาเหตุการใช้วิถีชีวิตแบบสังคมคนเมืองสมัยใหม่ที่มีพฤติกรรมการกินเปลี่ยนแปลงไปจากการสำรวจของกระทรวงสาธารณสุขพบว่า โรคหัวใจและหลอดเลือด ติดอันดับ ๑ ใน ๓ สาเหตุหลักของการป่วยและตายของคนไทย ในรอบ ๕ ปีที่ผ่านมามีจำนวนผู้ป่วยที่เข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลเพิ่มขึ้น ๓-๑๗ เท่าตัว ข้อมูลใน พ.ศ.๒๕๔๖ พบว่า มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคนี้สูงถึง ๔๐,๐๙๒ ราย หรือชั่วโมงละ ๕ คนที่สำคัญคือผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดมีอายุเฉลี่ยน้อยลงกว่าในอดีต ปัจจุบันประชาชนในวัยทำงานส่วนใหญ่จะนั่งโต๊ะทำงานมีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยไม่ค่อยมีเวลาออกกำลังกายและไม่ค่อยสนใจเรื่องอาหารเพราะมีประชุม มีอาหารว่าง มีงานเลี้ยงตอนเย็น กินไปคุยกันเรื่องงานไปรวมทั้งบริโภคอาหารหวานมัน และเค็มเพิ่มขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่มาจากขนมขบเคี้ยว ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มประเภทกาแฟและน้ำผลไม้ที่เติมน้ำตาลแทนการดื่มน้ำเปล่าซื้ออาหารสำเร็จรูปประเภทถุงมีวางจำหน่ายหาซื้อง่าย ราคาถูก การโฆษณาอาหารที่ให้พลังงานสูง อาหารบริการด่วนและบริการส่งถึงบ้านทำให้อาหารที่ให้พลังงานสูงที่นานๆ เคยได้กินทีกลายเป็นสิ่งที่กินได้ทุกวัน และในการลดน้ำหนักของประชาชน ยังมีบางกลุ่มที่ยังมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร โดยเฉพาะอาหารเช้า ซึ่งบางคนงดอาหารเช้าแต่ดื่มกาแฟแทน ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง อาหารมื้อเช้าเป็นมื้อที่สำคัญและจำเป็นมาก ต้องรับประทานทุกวัน เพื่อกระจายพลังงานอาหารให้เหมาะกับความต้องการ นอกจากจะช่วยให้ร่างกายไม่หิวมากในช่วงบ่ายแล้ว ยังควบคุม ปริมาณอาหารในมื้อเย็นให้กินน้อยลงได้และยังพบว่าคนไทยกินผักผลไม้น้อย โดยเฉลี่ยกินผักและผลไม้ วันละ๒๗๐กรัม ซึ่งต่ำกว่าปริมาณที่แนะนำวันละ ๔๐๐ กรัมต่อวัน และขาดการออกกำลังกาย จึงส่งผลให้คนไทยมีภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนเพิ่มขึ้น ( กรมอนามัย ,๒๕๔๘) ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อทราย จึงจัดทำโครงการลดพุงลดโรคเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการกับการออกกำลังกาย และอารมณ์ ในกลุ่มเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญ การส่งเสริมสุขภาพสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ ในการลดน้ำหนัก และทำกิจกรรมร่วมกันส่งผลให้ประชาชนในตำบลบ่อทรายมีสุขภาพดี ลดอัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ หลอดเลือดสมองและมะเร็ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อจัดบริการตรวจสุขภาพประเมินสภาวะสุขภาพ และพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ รวมทั้งการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบ่อทราย ๒. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการกับการออกกำลังกาย และอารมณ์ ในกลุ่มหญิง – ชาย วัยทำงาน ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญ การส่งเสริมสุขภาพ ๓. เพื่อสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ ในการลดน้ำหนัก และทำกิจกรรมร่วมกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.ผู้เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม ๒.กลุ่มเสี่ยงที่เป็นผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจภาวะเสี่ยงของตนเอง เข้าใจวิธีการที่จะจัดการตนเองปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ยั่งยืน ๓.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถดูแลสุขภาพตนเอง ขยายผลสู่ครอบครัว ชุมชนได้อย่างต่อเนื่อง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม เพิ่มขึ้น ร้อยละ 94.11 2.จำนวนผู้เข้าบริการที่สามารถลดนำ้หนักและรอบเอวได้ มากกว่าร้อยละ 88.24

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อจัดบริการตรวจสุขภาพประเมินสภาวะสุขภาพ และพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ รวมทั้งการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบ่อทราย ๒. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการกับการออกกำลังกาย และอารมณ์ ในกลุ่มหญิง – ชาย วัยทำงาน ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญ การส่งเสริมสุขภาพ ๓. เพื่อสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ ในการลดน้ำหนัก และทำกิจกรรมร่วมกัน
    ตัวชี้วัด : ๑. กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมเพิ่มขึ้นร้อยละ ๘๐ ๒. จำนวนผู้รับบริการที่สามารถลดน้ำหนักและรอบเอวได้มากกว่าร้อยละ ๗๐

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อจัดบริการตรวจสุขภาพประเมินสภาวะสุขภาพ และพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ รวมทั้งการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบ่อทราย ๒. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการกับการออกกำลังกาย และอารมณ์ ในกลุ่มหญิง – ชาย วัยทำงาน ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญ การส่งเสริมสุขภาพ ๓. เพื่อสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ ในการลดน้ำหนัก และทำกิจกรรมร่วมกัน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการลดพุงลดโรค (คลินิก DPAC) จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( สถานีอนามัยบ้านบ่อทราย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด