โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยฟันดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยฟันดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ”
ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางคอรีเยาะ สลีมิน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยฟันดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
ที่อยู่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยฟันดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยฟันดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยฟันดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุเป็นประชากรที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในปัจจุบันเป็นกลุ่มเป้าหมายอีกกลุ่มหนึ่งที่ประสบปัญหาสุขภาพต่างๆซึ่งรวมถึงสุขภาพช่องปากซึ่งมีความสำพันธ์โดยตรงต่อการทำงานของระบบบดเคี้ยวซึ่งส่งผลต่อภาวะโภชนาการและสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุโดยรวม ปัญหาการเปลี่ยนแปลงหรือความรุนแรงของโรคในช่องปากในประชากรกลุ่มนี้ ให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่มีความสุข จึงให้ความสนใจดูแลสุขภาพช่องปากให้สมบูรณ์แข็งแรง มีฟันใช้ได้อย่างปกติ ปี 2560-2566 พบว่าปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุคิดเป็นร้อยละ 69.8 ซึ่งนอกจากเป็นผลจากพฤติกรรม เช่น การทำความสะอาดช่องปากหรือจากพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ อาทิเช่น การสูบบุหรี่ การเคี้ยวหมาก ยังเป็นผลกระทบจากโรคทางระบบบางโรคหรือการได้รับยารักษาทางระบบเป็นระยะเวลายาวนาน
จากการสำรวจสภาวะช่องปากด้วยโรคปริทันต์ปี 2565 คิดเป็นร้อยละ 59.74 ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องให้ความสำคัญ การให้บริการรักษาและฟื้นฟู การดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูก ต้องสม่ำเสมอ ทั้งโดยผู้สูงอายุเอง หรือโดยผู้ดูแลจึงเป็นหัวใจสำคัญในการควบคุมโรค ป้องกัน และส่งเสริมการมีสุขภาพช่องปากที่ดี ทั้งนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จึงได้จัดทำโครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยฟันดี มีกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพ การมีฟันแข็งแรงสามารถใช้บดเคี้ยวได้ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุและนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน มีสุขภาพช่องปากที่ดี สมวัย สามารถมีฟันใช้งาน โดยปราศจากความเจ็บปวดตลอดอายุขัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ให้ความรู้แบบปฏิบัติการเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ จำนวน 2 รุ่น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
280
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
7.1 ผู้สูงอายุมีความรู้ทางด้านทันตสุขภาพที่ถูกต้อง
7.2 ผู้สูงอายุเกิดการตื่นตัวในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง
7.3 ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
280
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
280
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้แบบปฏิบัติการเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ จำนวน 2 รุ่น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยฟันดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางคอรีเยาะ สลีมิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยฟันดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ”
ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางคอรีเยาะ สลีมิน
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยฟันดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยฟันดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยฟันดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุเป็นประชากรที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในปัจจุบันเป็นกลุ่มเป้าหมายอีกกลุ่มหนึ่งที่ประสบปัญหาสุขภาพต่างๆซึ่งรวมถึงสุขภาพช่องปากซึ่งมีความสำพันธ์โดยตรงต่อการทำงานของระบบบดเคี้ยวซึ่งส่งผลต่อภาวะโภชนาการและสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุโดยรวม ปัญหาการเปลี่ยนแปลงหรือความรุนแรงของโรคในช่องปากในประชากรกลุ่มนี้ ให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่มีความสุข จึงให้ความสนใจดูแลสุขภาพช่องปากให้สมบูรณ์แข็งแรง มีฟันใช้ได้อย่างปกติ ปี 2560-2566 พบว่าปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุคิดเป็นร้อยละ 69.8 ซึ่งนอกจากเป็นผลจากพฤติกรรม เช่น การทำความสะอาดช่องปากหรือจากพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ อาทิเช่น การสูบบุหรี่ การเคี้ยวหมาก ยังเป็นผลกระทบจากโรคทางระบบบางโรคหรือการได้รับยารักษาทางระบบเป็นระยะเวลายาวนาน
จากการสำรวจสภาวะช่องปากด้วยโรคปริทันต์ปี 2565 คิดเป็นร้อยละ 59.74 ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องให้ความสำคัญ การให้บริการรักษาและฟื้นฟู การดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูก ต้องสม่ำเสมอ ทั้งโดยผู้สูงอายุเอง หรือโดยผู้ดูแลจึงเป็นหัวใจสำคัญในการควบคุมโรค ป้องกัน และส่งเสริมการมีสุขภาพช่องปากที่ดี ทั้งนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จึงได้จัดทำโครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยฟันดี มีกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพ การมีฟันแข็งแรงสามารถใช้บดเคี้ยวได้ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุและนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน มีสุขภาพช่องปากที่ดี สมวัย สามารถมีฟันใช้งาน โดยปราศจากความเจ็บปวดตลอดอายุขัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ให้ความรู้แบบปฏิบัติการเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ จำนวน 2 รุ่น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 280 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
7.1 ผู้สูงอายุมีความรู้ทางด้านทันตสุขภาพที่ถูกต้อง
7.2 ผู้สูงอายุเกิดการตื่นตัวในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง
7.3 ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 280 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 280 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้แบบปฏิบัติการเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ จำนวน 2 รุ่น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยฟันดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางคอรีเยาะ สลีมิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......