โครงการเพิ่มทักษะการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเพิ่มทักษะการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ ”
ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
1.นางประจวบ ชัยเกษตรสิน 2.นางสาวยุพเรศ ทวีพัฒนพงศ์ 3.นางสาวจารุวรรณ แซ่เอียบ 4.นางเยาวเรศ หมื่นละม้าย 5.นางสาววิภา ใจสมุทร
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มทักษะการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ
ที่อยู่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L8018-02-01 เลขที่ข้อตกลง 02/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเพิ่มทักษะการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเพิ่มทักษะการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเพิ่มทักษะการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L8018-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,040.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การออกกำลังกายเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญที่จะช่วยส่งเสริมการมีสุขภาพที่แข็งแรงให้กับทุกเพศทุกวัย เนื่องจากการออกกำลังกายประกอบไปด้วยคุณประโยชน์มากมายทั้งด้านร่างกายและจิตใจ หากปฏิบัติเป็นประจำและต่อเนื่อง จะนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตโดยรวมที่ดีอย่างยั่งยืน
ทั้งเป็นการช่วยลดปัจจัยเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่าง ๆ ได้ เช่น โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง โรคถุงลงโป่งพอง โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง และโรคอ้วนลงพุง ซึ่งโรคเหล่านี้จะเกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป และรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ จนอาจอันตรายถึงชีวิต ในปัจจุบันกลุ่มโรคเหล่านี้จัดเป็นปัญหาด้านสุขภาพที่สำคัญของคนทั่วโลก และคาดว่าจะมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นในทุก ๆ ปี ซึ่งส่วนใหญ่เสียชีวิตก่อนวัยอันควร คือก่อนอายุ 60 ปี
ชมรมบาสโลบเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบทุ่งยาว มีการรวมตัวกันเพื่อจัดกิจกรรมการออกกำลังกายในชีวิตประจำวัน เป็นประจำทุกวัน วันละ 2 ชั่วโมง (17.00 – 19.00 น.) เพื่อเป็นการดูแลสุขภาพของสมาชิกด้วยตนเองให้แข็งแรง ลดการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มีสาเหตุมาจากพฤติกรรมเสี่ยงด้านการขาดการออกกำลังกาย และการมีความเครียด ทั้งนี้ชมรมบาสโลบเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลทุ่งยาว ได้เริ่มต้นมาจากการเต้นบาสโลบที่เป็นจังหวะช้า ๆ ไม่ยุ่งยาก และได้มีการพัฒนามาเป็นการเต้นไลน์ แดนซ์ (Line Dance) ซึ่งเป็นการผสมผสานการเต้นลีลาศกับการเต้นแอโรบิค แต่มีการปรับให้สามารถเต้นได้ง่ายและสนุกมากขึ้น ช่วยแก้ปัญหาการเต้นแอโรบิคที่มีความเร็วและยุ่งยากมากกว่า แต่การเต้นไลน์ แดนซ์ ต้องมีความเข้าใจจังหวะของการเต้นลีลาศแต่ละจังหวะที่แตกต่างกันตามมาตรฐานของจังหวะการเต้น จึงสามารถเต้นได้อย่างถูกต้องและสนุกสนาน
ดังนั้น ชมรมบาสโลบเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลทุ่งยาว จึงได้จัดทำ “โครงการเพิ่มทักษะการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ” ขึ้น เพื่อให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการเต้นลีลาศที่ถูกวิธี สามารถนำไปปรับใช้กับจังหวะต่าง ๆ ได้ ทั้งยังช่วยลดการบาดเจ็บจากการออกกำลังกายอีกทางหนึ่ง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศได้ถูกต้อง
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศอย่างสม่ำเสมอ สัปดาห์ละ 5 วัน อย่างน้อยวันละ 30 นาที
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรม อบรมส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ
- กิจกรรม ออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ
- สรุปผลการดำเนินโครงการ
- ครั้งที่ 1
- ครั้งที่ 2
- ครั้งที่ 3
- ครั้งที่ 4
- ครั้งที่ 5
- ออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ
- สรุปผลการดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มเป้าหมายสามารถออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศได้อย่างถูกต้อง
2.กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศอย่างสม่ำเสมอและมีสุขภาพแข็งแรง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมสามารถปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศได้ถูกต้อง
2
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศอย่างสม่ำเสมอ สัปดาห์ละ 5 วัน อย่างน้อยวันละ 30 นาที
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมสามารถเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศอย่างสม่ำเสมอ สัปดาห์ละ 5 วัน อย่างน้อยวันละ 30 นาที
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
20
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศได้ถูกต้อง (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศอย่างสม่ำเสมอ สัปดาห์ละ 5 วัน อย่างน้อยวันละ 30 นาที
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม อบรมส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ (2) กิจกรรม ออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ (3) สรุปผลการดำเนินโครงการ (4) ครั้งที่ 1 (5) ครั้งที่ 2 (6) ครั้งที่ 3 (7) ครั้งที่ 4 (8) ครั้งที่ 5 (9) ออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ (10) สรุปผลการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเพิ่มทักษะการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L8018-02-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( 1.นางประจวบ ชัยเกษตรสิน 2.นางสาวยุพเรศ ทวีพัฒนพงศ์ 3.นางสาวจารุวรรณ แซ่เอียบ 4.นางเยาวเรศ หมื่นละม้าย 5.นางสาววิภา ใจสมุทร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเพิ่มทักษะการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ ”
ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
1.นางประจวบ ชัยเกษตรสิน 2.นางสาวยุพเรศ ทวีพัฒนพงศ์ 3.นางสาวจารุวรรณ แซ่เอียบ 4.นางเยาวเรศ หมื่นละม้าย 5.นางสาววิภา ใจสมุทร
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L8018-02-01 เลขที่ข้อตกลง 02/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเพิ่มทักษะการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเพิ่มทักษะการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเพิ่มทักษะการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L8018-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,040.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การออกกำลังกายเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญที่จะช่วยส่งเสริมการมีสุขภาพที่แข็งแรงให้กับทุกเพศทุกวัย เนื่องจากการออกกำลังกายประกอบไปด้วยคุณประโยชน์มากมายทั้งด้านร่างกายและจิตใจ หากปฏิบัติเป็นประจำและต่อเนื่อง จะนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตโดยรวมที่ดีอย่างยั่งยืน
ทั้งเป็นการช่วยลดปัจจัยเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่าง ๆ ได้ เช่น โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง โรคถุงลงโป่งพอง โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง และโรคอ้วนลงพุง ซึ่งโรคเหล่านี้จะเกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป และรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ จนอาจอันตรายถึงชีวิต ในปัจจุบันกลุ่มโรคเหล่านี้จัดเป็นปัญหาด้านสุขภาพที่สำคัญของคนทั่วโลก และคาดว่าจะมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นในทุก ๆ ปี ซึ่งส่วนใหญ่เสียชีวิตก่อนวัยอันควร คือก่อนอายุ 60 ปี
ชมรมบาสโลบเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบทุ่งยาว มีการรวมตัวกันเพื่อจัดกิจกรรมการออกกำลังกายในชีวิตประจำวัน เป็นประจำทุกวัน วันละ 2 ชั่วโมง (17.00 – 19.00 น.) เพื่อเป็นการดูแลสุขภาพของสมาชิกด้วยตนเองให้แข็งแรง ลดการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มีสาเหตุมาจากพฤติกรรมเสี่ยงด้านการขาดการออกกำลังกาย และการมีความเครียด ทั้งนี้ชมรมบาสโลบเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลทุ่งยาว ได้เริ่มต้นมาจากการเต้นบาสโลบที่เป็นจังหวะช้า ๆ ไม่ยุ่งยาก และได้มีการพัฒนามาเป็นการเต้นไลน์ แดนซ์ (Line Dance) ซึ่งเป็นการผสมผสานการเต้นลีลาศกับการเต้นแอโรบิค แต่มีการปรับให้สามารถเต้นได้ง่ายและสนุกมากขึ้น ช่วยแก้ปัญหาการเต้นแอโรบิคที่มีความเร็วและยุ่งยากมากกว่า แต่การเต้นไลน์ แดนซ์ ต้องมีความเข้าใจจังหวะของการเต้นลีลาศแต่ละจังหวะที่แตกต่างกันตามมาตรฐานของจังหวะการเต้น จึงสามารถเต้นได้อย่างถูกต้องและสนุกสนาน
ดังนั้น ชมรมบาสโลบเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลทุ่งยาว จึงได้จัดทำ “โครงการเพิ่มทักษะการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ” ขึ้น เพื่อให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการเต้นลีลาศที่ถูกวิธี สามารถนำไปปรับใช้กับจังหวะต่าง ๆ ได้ ทั้งยังช่วยลดการบาดเจ็บจากการออกกำลังกายอีกทางหนึ่ง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศได้ถูกต้อง
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศอย่างสม่ำเสมอ สัปดาห์ละ 5 วัน อย่างน้อยวันละ 30 นาที
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรม อบรมส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ
- กิจกรรม ออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ
- สรุปผลการดำเนินโครงการ
- ครั้งที่ 1
- ครั้งที่ 2
- ครั้งที่ 3
- ครั้งที่ 4
- ครั้งที่ 5
- ออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ
- สรุปผลการดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 20 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มเป้าหมายสามารถออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศได้อย่างถูกต้อง 2.กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศอย่างสม่ำเสมอและมีสุขภาพแข็งแรง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศได้ถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมสามารถปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศได้ถูกต้อง |
|
|||
2 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศอย่างสม่ำเสมอ สัปดาห์ละ 5 วัน อย่างน้อยวันละ 30 นาที ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมสามารถเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศอย่างสม่ำเสมอ สัปดาห์ละ 5 วัน อย่างน้อยวันละ 30 นาที |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 20 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 20 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศได้ถูกต้อง (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศอย่างสม่ำเสมอ สัปดาห์ละ 5 วัน อย่างน้อยวันละ 30 นาที
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม อบรมส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ (2) กิจกรรม ออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ (3) สรุปผลการดำเนินโครงการ (4) ครั้งที่ 1 (5) ครั้งที่ 2 (6) ครั้งที่ 3 (7) ครั้งที่ 4 (8) ครั้งที่ 5 (9) ออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ (10) สรุปผลการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเพิ่มทักษะการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L8018-02-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( 1.นางประจวบ ชัยเกษตรสิน 2.นางสาวยุพเรศ ทวีพัฒนพงศ์ 3.นางสาวจารุวรรณ แซ่เอียบ 4.นางเยาวเรศ หมื่นละม้าย 5.นางสาววิภา ใจสมุทร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......