ปลอดลูกน้ำยุงลายโดยชุมชนตำบลตะโละ ปี 2568
ชื่อโครงการ | ปลอดลูกน้ำยุงลายโดยชุมชนตำบลตะโละ ปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L3039-(02)-05 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตะโละ |
วันที่อนุมัติ | 19 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 19 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 18,500.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตะโละ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่มมือจากหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ตำบลตะโละเป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกมาอย่างต่อเนื่อง การระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือนมิถุนายน – กันยายน ของทุกปี ชีวนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวันจึงสันนิฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้นได้ทั้ง ขุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ด้วยเหตุนี้ การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความรวดเร็วทันท่วงที ประกอบกับสภาพภูมิอาการที่เปลี่ยนแปลง เป็นสาเหตุที่ทำให้ลูกน้ำยุงลายเจริญเติบโตได้ดี และข้อมูลทางวิชาการพบว่า ขณะนี้การเจริญเติบโตของลูกน้ำยุงลายกลายเป็นยุงใช้เวลาเพียง ๕ วัน จาก ๗ วัน ทำให้ปริมาณยุงตัวเต็มวัยเพิ่มมากขึ้น หากไม่มีการป้องกันโรคแต่เนินๆ
จากพยากรณ์แนวโน้มการเกิดโรคไข้เลือดออกด้วยวิธีอนุกรมเวลาพบว่า ปี พ.ศ.2566 ประเทศไทยจะมีการระบาดทั้งปีประมาณ 95,500 คน โดยจะพบผู้ป่วยประมาณ 3,000 – 4,000 รายต่อเดือน และอาจสูงถึง 10,000 -16,000 ราย ต่อเดือน
ดังนั้นเพื่อหยุดยั้งการแพร่ระบาดและเพื่อเป็นการป้องกัน ควบคุมของโรคไข้เลือดออก ดังกล่าวทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตะโละจึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ปี 2567 ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน Generetion 2 ร้อยละ 80 ของหมู่บ้านสามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกไม่เกิน Generetion 2 |
0.00 | |
2 | ข้อที่ 2 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้น้อยกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง ร้อยละ 20 |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 18,300.00 | 0 | 0.00 | |
1 ม.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | 1.กิจกรรมฟื้นฟูความรู้แก่ อสม.และแกนนำสุภาพ จำนวน 85 คน | 0 | 5,100.00 | - | ||
1 ม.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | 2.กิจกรรมเฝ้าระวังและควบคุมการระบาด | 0 | 13,200.00 | - |
- ร้อยละ 80 ของหมู่บ้านสามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกไม่เกิน Generetion 2
- อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง ร้อยละ 20
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 มี.ค. 2568 09:52 น.