โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในร้านชำและสถานประกอบการ
ชื่อโครงการ | โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในร้านชำและสถานประกอบการ |
รหัสโครงการ | L7886/68/2/9 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 2 ตำบลเจ๊ะบิลัง.. |
วันที่อนุมัติ | 12 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤษภาคม 2568 - 30 พฤษภาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 22,020.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวมารียะฮ์ เส็นติระ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.687,99.965place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 พ.ค. 2568 | 30 พ.ค. 2568 | 22,020.00 | |||
รวมงบประมาณ | 22,020.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละของประชาชนลดความเสี่ยงและอันตรายจากการการอุปโภค บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้คุณภาพ ในพื้นที่ลดลง 2.มีแผนในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และผลิตภัณฑ์สุขภาพ | 60.00 | ||
2 | ร้อยละของร้านชำและ สถานประกอบการ ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่เป็นต้นแบบในพื้นที่ | 60.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค มีความรู้และมีทักษะในการเฝ้าระวัง ป้องกัน การอุปโภค บริโภค ผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่ เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคเข้าอบรมอย่างน้อยร้อยละ80 และมีความรู้เพิ่มขึ้น |
1.00 | |
2 | เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และมีความปลอดภัยในการอุปโภคบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้คุณภาพและมาตรฐาน ความความเสี่ยงและอันตรายจากการการอุปโภค บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้คุณภาพ ในพื้นที่ลดลง 2.มีแผนในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และผลิตภัณฑ์สุขภาพ |
1.00 | |
3 | เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน ผลิตภัณฑ์สุขภาพใน ร้านชำ ร้านอาหาร แผลลอย ในสถานประกอบการและโรงเรียน ให้มีความปลอดภัย มีคุณภาพ มาตรฐาน มีร้านชำและ สถานประกอบการ ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่เป็นต้นแบบในพื้นที่ |
1.00 |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | พ.ค. 68 |
---|---|---|---|
1 | ประชุมผู้เกี่ยวข้อง เพื่อการวางแผน พัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำและสถานประกอบการ เพื่อให้ผู้บริโภคมีความปลอดภัยในการ อุปโภค บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่(1 พ.ค. 2568-1 พ.ค. 2568) | 0.00 | |
2 | อบรมให้ความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพ แก่เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค ได้แก่ อสม. ผู้ประกอบการในร้านชำ ร้านอาหาร แผงลอย โรงเรียน องค์กรส่วนท้องถิ่น ผู้นำชุมชน(1 พ.ค. 2568-1 พ.ค. 2568) | 0.00 | |
รวม | 0.00 |
1 ประชุมผู้เกี่ยวข้อง เพื่อการวางแผน พัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำและสถานประกอบการ เพื่อให้ผู้บริโภคมีความปลอดภัยในการ อุปโภค บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | |
2 อบรมให้ความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพ แก่เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค ได้แก่ อสม. ผู้ประกอบการในร้านชำ ร้านอาหาร แผงลอย โรงเรียน องค์กรส่วนท้องถิ่น ผู้นำชุมชน | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค ได้แก่ อสม ผู้ประกอบการร้านชำ และสถานประกอบการ ร้านอาหาร แผงลอย โรงเรียน มีความรอบรู้ มีทักษะ ในการเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่ มีความเข้มแข็งด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ผู้บริโภคได้รับความปลอดภัยในการอุปโภค บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้คุณภาพ มาตรฐาน และมีสุขภาพที่ดี
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 มี.ค. 2568 10:33 น.