โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุเทศบาลตำบลทุ่งยาว
ชื่อโครงการ | โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุเทศบาลตำบลทุ่งยาว |
รหัสโครงการ | 68-L8018-02-03 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลทุ่งยาว |
วันที่อนุมัติ | 12 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 สิงหาคม 2568 |
งบประมาณ | 26,065.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | 1.ร.ต.อ.นิพล เพชรสามสี 2.นายบูรณ์ภิภพ ศรีพัฒนะพิพัฒน์ 3.นางประจวบ ชัยเกษตรสิน 4.นางนิดา อินทอง 5.นางยุพเรศ ทวีพัฒนะพงศ์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.241,99.753place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี 2548 กล่าวคือประชากรอายุ 60 ปี ขึ้นไป เกินกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด อันเป็นผลมาจากอัตราเกิดที่ลดลงและความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ ทำให้ผู้สูงอายุมีอายุยืนยาวขึ้น ทำให้ประเทศต้องมีการจ่ายด้านสวัสดิการเพื่อผู้สูงอายุเพิ่มสูงขึ้น ครอบครัวก็ต้องแบกรับภาระในการดูแลผู้สูงอายุมากขึ้น ผู้สูงอายุเองเมื่อมีอายุยืนยาวก็อาจมีปัญหาด้านค่าใช้จ่ายในการดำรงชีพ ต้องเผชิญกับโรคภัยไข้เจ็บเรื้อรังต่าง ๆ จนไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้หรืออาจพิการหรือทุพลภาพ ประกอบกับสภาพครอบครัวไทยปัจจุบัน ที่เปลี่ยนแปลงจากอดีต จากที่มีคนหลายรุ่นอยู่ในครอบครัวเดียวกัน กลายเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น ทำให้ผู้สูงอายุต้องอยู่กันตามลำพังขาดการดูแล และอาจเกิดความรู้สึกว่าชีวิตไร้ความหมาย สถานการณ์ของผู้สูงอายุไทยจึงน่าวิตก การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุจึงควรดำเนินการควบคู่ไปกับมาตรการอื่น ๆ ของภาครัฐ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง ดังนั้น ชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลทุ่งยาว ได้เห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำ “โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุเทศบาลตำบลทุ่งยาว” ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เรียนรู้ พบปะแลกเปลี่ยน และร่วมทำกิจกรรมอย่างสนุกสนาน เกิดทักษะด้านการดูแลตนเอง พึ่งพาตนเองได้ รวมถึงการพัฒนาความสามารถทางกาย จิต สังคม และปัญญา ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างเสริมสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุในชุมชนทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการเสริมสร้างสุขภาพสูงวัยได้อย่างถูกต้อง |
||
2 | เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะและทำกิจกรรมร่วมกันอย่างสม่ำเสมอ ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีการพบปะและทำกิจกรรมร่วมกันอย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง |
||
3 | เพื่อเพิ่มทักษะการดูแลตนเอง ช่วยลดระยะเวลาพึ่งพิงในผู้สูงอายุได้ ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพกายใจที่ดี ช่วยลดระยะเวลาการพึ่งพิงครอบครัวและสังคม |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | มี.ค. 68 | เม.ย. 68 | พ.ค. 68 | มิ.ย. 68 | ก.ค. 68 | ส.ค. 68 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลทุ่งยาว(1 มี.ค. 2568-31 มี.ค. 2568) | 375.00 | ||||||
2 | อบรมตามโครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุเทศบาลตำบลทุ่งยาว(1 เม.ย. 2568-31 ส.ค. 2568) | 25,690.00 | ||||||
รวม | 26,065.00 |
1 ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลทุ่งยาว | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 15 | 375.00 | 0 | 0.00 | 375.00 | |
1 - 31 มี.ค. 68 | ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลทุ่งยาว | 15 | 375.00 | - | - | ||
2 อบรมตามโครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุเทศบาลตำบลทุ่งยาว | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 400 | 25,690.00 | 0 | 0.00 | 25,690.00 | |
1 - 30 เม.ย. 68 | ครั้งที่ 1 | 50 | 4,340.00 | - | - | ||
1 - 30 เม.ย. 68 | ครั้งที่ 2 | 50 | 3,050.00 | - | - | ||
1 - 31 พ.ค. 68 | ครั้งที่ 3 | 50 | 3,050.00 | - | - | ||
1 - 31 พ.ค. 68 | ครั้งที่ 4 | 50 | 3,050.00 | - | - | ||
1 - 30 มิ.ย. 68 | ครั้งที่ 5 | 50 | 3,050.00 | - | - | ||
1 - 31 ก.ค. 68 | ครั้งที่ 6 | 50 | 3,050.00 | - | - | ||
1 - 31 ก.ค. 68 | ครั้งที่ 7 | 50 | 3,050.00 | - | - | ||
1 - 31 ส.ค. 68 | ครั้งที่ 8 | 50 | 3,050.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 415 | 26,065.00 | 0 | 0.00 | 26,065.00 |
1.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตได้อย่างถูกต้อง 2.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพสูงวัยได้อย่างถูกต้อง 3.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 มี.ค. 2568 10:54 น.