directions_run
โครงการพิชิตยุงร้าย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ ป้องกันไข้เลือดออก
ชื่อโครงการ | โครงการพิชิตยุงร้าย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ ป้องกันไข้เลือดออก |
รหัสโครงการ | L7886/68/2/11 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ที่ 2 ตำบลเจ๊ะบิลัง |
วันที่อนุมัติ | 12 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤษภาคม 2568 - 30 พฤษภาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 20,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวรัชดา โกบปุเลา |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.687,99.965place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 พ.ค. 2568 | 30 พ.ค. 2568 | 20,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 20,000.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 65 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : ระบุ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละ 80 ของทีมควบคุมโรคในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและได้รับการฟื้นฟูความรู้อย่างน้อย ๑ ครั้ง/ปี | 65.00 | ||
2 | ลดปัจจัยเสี่ยงงต่อการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย | 65.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ประชาชนมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออก มีเครือข่ายในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน |
1.00 | |
2 | ทีมควบคุมโรคในชุมชนได้รับการฟื้นฟูความรู้โรคไข้เลือดออก ร้อยละ 80 ของทีมควบคุมโรคในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและได้รับการฟื้นฟูความรู้อย่างน้อย ๑ ครั้ง/ปี |
1.00 | |
3 | ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ลดปัจจัยเสี่ยงงต่อการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายไม่เกิน ร้อยละ ๑๐ |
1.00 |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | พ.ค. 68 | มิ.ย. 68 |
---|---|---|---|---|
1 | . กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก(1 พ.ค. 2568-1 พ.ค. 2568) | 9,400.00 | ||
รวม | 9,400.00 |
1 . กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 65 | 9,400.00 | 0 | 0.00 | 9,400.00 | |
18 มิ.ย. 68 | อบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก เน้นหนักเรื่องการควบคุมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทั้งทางกายภาพ,ชีวภาพและเคมี | 65 | 9,400.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 65 | 9,400.00 | 0 | 0.00 | 9,400.00 |
- ประชาชนมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออก มีภาคีเครือข่ายในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน
- ประชาชนเกิดความตระหนักและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ลดอัตราการแพร่โรคไข้เลือดออกในสถานศึกษาและชุมชน
- ไม่มีรายงานพบชุมชนที่มีการเกิดโรคใน generation ที่ ๒ ในผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
- ค่าHouse Index น้อยกว่าหรือเท่า 10 (HI ≤10) และค่า Container Index น้อยกว่าหรือเท่า 10 (CI ≤ 10)
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 มี.ค. 2568 11:24 น.
project version 4.4.01 release 2022-02-13. ช่วยเหลือ