กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมชุมชน ลด ละ เลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตำบลพิมาน ปี 68 ”
ชุมชนในเขตตำบลพิมาน



หัวหน้าโครงการ
นางดุษณีย์ เครือแก้ว




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมชุมชน ลด ละ เลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตำบลพิมาน ปี 68

ที่อยู่ ชุมชนในเขตตำบลพิมาน จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L8008-02-28 เลขที่ข้อตกลง 28/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 พฤศจิกายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมชุมชน ลด ละ เลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตำบลพิมาน ปี 68 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ชุมชนในเขตตำบลพิมาน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมชุมชน ลด ละ เลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตำบลพิมาน ปี 68



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมชุมชน ลด ละ เลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตำบลพิมาน ปี 68 " ดำเนินการในพื้นที่ ชุมชนในเขตตำบลพิมาน รหัสโครงการ 68-L8008-02-28 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 พฤศจิกายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,680.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันพฤติกรรมการดื่มสุราของประชากรในปี 2565 พบว่าในจำนวนประชากรอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป 54.8 ล้านคน เป็นผู้ดื่มสุราในรอบ 12 เดือนที่แล้วประมาณ 17.7 ล้านคน (ร้อยละ 32.3) โดยผู้ชายมีอัตราการดื่มสุราฯ สูงกว่าหญิงประมาณ 4เท่า กลุ่มวัยทำงาน (25-59 ปี) มีอัตราการดื่มสุราฯ สูงกว่ากลุ่มอื่น (ร้อยละ 38.2) และมีข้อสังเกตว่ากลุ่มผู้สูงวัยที่ดื่มสุราสูงถึงร้อยละ 18เมื่อพิจารณาถึงความบ่อยครั้งของการดื่มสุราฯ พบว่าร้อยละ 57.6 เป็นผู้ที่ดื่มนานๆ ครั้ง ร้อยละ 42.4 เป็นผู้ที่ดื่มสม่ำเสมอ เมื่อพิจารณาความถี่หรือความบ่อยครั้งในการดื่มของกลุ่มผู้ที่ดื่มสม่ำเสมอนั้น พบว่าเป็นผู้ที่ดื่ม 5 วันต่อสัปดาห์ขึ้นไปถึงร้อยละ 38.3 ซึ่งในกลุ่มนี้เป็นผู้ที่ดื่มทุกวันสูงถึงร้อยละ 26.3 สถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และบุหรี่ตำบลพิมาน(เทศบาลเมืองสตูล) จากข้อมูลสถานการณ์การในตำบลพิมาน(เทศบาลเมืองสตูล) จำนวนครัวเรือนตำบลพิมาน(เทศบาลเมืองสตูล) 9,685 หลังประชากรตำบลพิมานทั้งหมด23,808 คนชาย 11,548คนหญิง 12,260 คน คนที่ดื่มเหล้าทั้งหมดใน10ชุมชนประมาณ6,550 คนที่ดื่มประจำประมาณ 315 คนดื่มเป็นครั้งคราวประมาณ 6,435 คน ชุมชนชนาธิป จำนวน 238 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด 1,372 คน ชาย 682 คนหญิง 690 คนคนที่ดื่มเหล้าทั้งหมดในชุมชนประมาณ 344 คนที่ดื่มประจำประมาณ 10คนดื่มเป็นครั้งคราวประมาณ 334 คน ชุมชนปานชูรําลึก จำนวน 633 ครัวเรือนประชากรทั้งหมด 2,317คน ชาย 1,076 คนหญิง 1,241 คนคนที่ดื่มเหล้าทั้งหมดในชุมชนประมาณ 578 คนทีดื่มประจำประมาณ 20 คนดื่มเป็นครั้งคราวประมาณ 558 คน ชุมชนหลังโรงพัก จำนวน 380 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด 1,559 คน ชาย 760 คนหญิง 799คนคนที่ดื่มเหล้าทั้งหมดในชุมชนประมาณ 388 คนทีดื่มประจำประมาณ 15 คนดื่มเป็นครั้งคราวประมาณ 373 คน ชุมชนซอยปลาเค็ม จำนวน 170 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด 700คน ชาย 319 คนหญิง 381คน คนที่ดื่มเหล้า ทั้งหมดในชุมชนประมาณ 105 คนทีดื่มประจำประมาณ 10 คนดื่มเป็นครั้งคราวประมาณ 165 คน ชุมชนบ้านศาลากันตง จำนวน 187 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด 986 คน ชาย 464 คนหญิง 522 คนคนที่ดื่มเหล้าทั้งหมดในชุมชนประมาณ 240 คนทีดื่มประจำประมาณ 15 คนดื่มเป็นครั้งคราวประมาณ 225คน ชุมชนห้องสมุดจำนวน560หลังคาเรือน ประชากทั้งหมดร 873 คน ชาย 427 คน หญิง 446 คน คนที่ดื่มเหล้าทั้งหมดในชุมชนประมาณ200 คนทีดื่มประจำประมาณ 8 คนดื่มเป็นครั้งคราวประมาณ 192 คนชุมชนสันตยารามจำนวน 664 หลังคาเรือน ประชากรทั้งหมด 1,024 คน ชาย 481 คน หญิง 543คน คนที่ดื่มเหล้าทั้งหมดในชุมชนประมาณ230 คนทีดื่มประจำประมาณ 10 คนดื่มเป็นครั้งคราวประมาณ 220คน ชุมชมสี่แยกคอกเป็ดจำนวน861 หลังคาเรือนประชากรทั้งหมด 1,483 คน ชาย 737 คน หญิง 746 คน คนที่ดื่มเหล้าทั้งหมดในชุมชนประมาณ 280 คนทีดื่มประจำประมาณ 13 คนดื่มเป็นครั้งคราวประมาณ 267 คนชุมชนเทศบาล 4จำนวน549 หลังคาเรือนประชากร 1,195 คน ชาย 593 คนหญิง602 คนที่ดื่มเหล้าทั้งหมดในชุมชนประมาณ 275 คนทีดื่มประจำประมาณ 10 คนดื่มเป็นครั้งคราวประมาณ 265คน ชุมชนโรงพระสามัคคีจำนวน573 หลังคาเรือน ประชากร 928 คน ชาย 420 คน หญิง 508 คนคนที่ดื่มเหล้าทั้งหมดในชุมชนประมาณ 225 คนทีดื่มประจำประมาณ 8 คนดื่มเป็นครั้งคราวประมาณ 217คน จากปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นในแต่ละประเด็นดังกล่าวจึงต้องมีการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมเสี่ยงของคนในชุมชน โดยการเปิดพื้นที่ให้ความรู้เท่าทันเรื่องของเหล้า บุหรี่ ปัจจัยเสียงต่างๆโดยใช้ช่วงสำคัญของวันเข้าพรรษาเชิญชวน ลด ละเลิก เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิด บุหรี่ หรือสิ่งเสพติดต่างฯใช้วันสำคัญทางศาสนาเช่นวันพระใหญ่ เชิญชวนเข้าร่วมงดเหล้างดช่วงเข้าพรรษาหรือรณรงค์ให้ความรู้เหล้ากับบุหรี่มีโทษมากกว่าคุณ สร้างแกนนำแต่ละชุมชนสนับสนุนให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมงดเหล้าเข้าพรรษา มีกิจกรรมหนุนเสริมตลอดโครงการมีดังนี้ 1.กิจกรรมประชุมคณะทำงานชมรมคนหัวใจเพชรตำบลพิมาน งดเหล้างดบุหรี่ 20 คน จำนวน 2 ครั้ง 2.กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะทำงานกับแกนนำชุมชนเชิญชวนคนงดเหล้า 10 ชุมชน รวม 40 คน 3.กิจกรรม ช่วย ชม เชียร์ 10 ชุมชน ผู้เข้าร่วม 30 คน จำนวน 2 ครั้ง 4. กิจกรรมเชิดชูเกียรติคนงดเหล้าครบ 3 เดือนและคืนข้อมูลงดเหล้าเข้าพรรษาปี 68 ให้กับหน่วยงานในพื้นที่จำนวน 70 คน 5.กิจกรรมเวทีถอดบทเรียนโครงการส่งเสริมชุมชน ลด ละ เลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตำบลพิมาน ปี 68 6.กิจกรรมที่เก็บข้อมูลและติดตามพฤติกรรมผู้งดเหล้าเข้าพรรษา ( 3 ครั้ง ) ต้องมีแหล่งทุนขับเคลื่อนงานส่งเสริมกิจกรรมให้เกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงพร้อมทั้งได้รับการพัฒนาศักยภาพที่เหมาะ สมจะช่วยสนับสนุนให้เกิดกลไกลการกระจายโอกาสแก่กลุ่มทีเข้าร่วมงดเหล้าเข้าพรรษาและงดบุหรี่และผู้ใหญ่ที่เข้าร่วมโครง เกิดเครือข่ายดำเนิน งานและแกนนำรายใหม่แต่ละพื้นที่รวมถึงการเชื่อมภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องชุมชน ซึ่งจะนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤ ติกรรมของผู้ทีเข้าร่วมงดเหล้าเข้าพรรษางดบุหรี่ในพื้นทีตำบลพิมานที่เอื้อต่อสุขภาวะต่อไป เพื่อให้เกิดความยังยื่นในการขับเคลื่อนงานสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในระดับพื้นที่จำเป็นอย่างยิ่งที่จำเป็นจะต้องมีแกนนำชุมชนแต่ละชุมชนละ 5 คนเพื่อเป็นแกนหลักได้รวมตัวทำกิจกรรมงดหล้าเข้าพรรษาและปัจจัยเสี่ยงอื่นๆเพื่อสังคมในชุมชนของตนเอง โดยมีผู้นำศาสนา(พระ)เป็นที่ปรึกษาหรือผู้นำชุมชนมีแกนนำเยาวชนแต่ละชุมชนที่เป็นผู้ดำเนินงาน เกิดชมรมหัวใจเพชรกิจกรรมทำกับกลุ่มเป้าหมายผู้ที่มีอายุ 15-70 ปี ทั้ง 10 ชุมชนของตำบลพิมานเพื่อสร้างเครือข่ายชุมชนงดเหล้าพัฒนาศักยภาพแกนชุมชนกับคนหัวใจเพชรเพื่อจัดตั้งชมรมคนหัวใจเพชรของตำบลพิมาน ฝึกอบรมการเก็บข้อมูลฝึกการเป็นผู้นำ ทั้งหมดที่กล่าวมานี้เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันความตระหนักความเข้าใจโทษภัยของปัจจัยเสี่ยงต่างๆให้กับผู้ที่เข้าร่วมงดเหล้างดของเทศบาลเมืองสตูลตำบลพิมานทั้ง เด็ก เยาวชน และผู้ปกครองทั้ง 10 ชุมชน ทั้งนี้ด้วยต้นทุนด้านศักยภาพของทีมงานกลุ่มลดละเลิกเหล้าตำบลพิมานมีประสบการณ์การบริหารจัดการโครงการ และเครือข่ายการดำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมงดเหล้า เทศบาลเมืองสตูล /วัด/ อำเภอเมืองสตูล/สสอ.เมืองสตูล /ชมรมคนหัวใจเพชรตำบลพิมาน /คณะทำงานแกนนำชวนคนเลิกเหล้า เลิกบุหรี่/ เครือข่ายองค์งดเหล้าส่วนกลาง ภาคใต้ตอนล่าง จังหวัดสตูลสามารถสนับสนุนและผลักดันให้โครงการสามารถดำเนินการตามเป้าหมาย ที่ตั้งไว้ได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลด ละ เลิก การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เข้าพรรษาและออกพรรษา
  2. เพื่อสร้างแกนนำชุมชนชวนคนเลิกเหล้า 10 ชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานชมรมคนหัวใจเพชร ลด ละ เลิกเหล้า ต.พิมาน จำนวน 20 คน
  2. พัฒนาศักยภาพคณะทำงานและแกนนำเพื่อเชิญชวนคนงดเหล้า 10 ชุมชน
  3. รับสมัคร ค้นหากลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม และเก็บข้อมูลและติดตามพฤติกรรมกลุ่มเป้าหมายเดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 3 เดือน
  4. เวทีช่วยชมเชียร์งดเหล้าเข้าพรรษาหลังงดเหล้ามาแล้ว 1 เดือน
  5. อบรมฟื้นฟูพลังตับเสริมพลังชีวิตและเวทีช่วยชมเชียร์งดเหล้าเข้าพรรษาหลังงดเหล้าครบ 2 เดือน
  6. ถอดบทเรียนและ เชิดชูเกียรติผู้งดเหล้าครบพรรษา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการ 30

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีผู้เข้าร่วมงดเหล้า งดบุหรี่จำนวน 200 คน งดเหล้าครบ 3 เดือนจำนวน 30 คน
  2. มีวัดเข้าร่วมงดเหล้า งดบุหรี่เข้าพรรษา 2 วัด ได้แก่ วัดสตูลสันตยาราม วัดชนาธิปเฉลิม
  3. ผู้ที่เข้าร่วมโครงการมีเงินเก็บมีเงินออมจากการไม่ซื่อเหล้า
  4. เกิดแกนนำชุมชนชวนคนงดเหล้า ชุมชนละ 4 คน จำนวน 40 คน
    5.มีคนหยุดเหล้าตลอดไปจากโครงการนี้ จำนวน 2 คน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลด ละ เลิก การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เข้าพรรษาและออกพรรษา
ตัวชี้วัด : 1.มีผู้สมัครเข้าร่วมงดเหล้าเข้าพรรษา 10 ชุมชน จำนวน 200 คน 2.มีผู้งดเหล้าครบพรรษา 3 เดือน จำนวน 30 คน 3.มีวัดเข้าร่วมรณรงค์ ลดละเลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จำนวน 2 แห่ง 4.เกิดชุมชนต้นแบบงดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อย่างน้อย 2 ชุมชน 5.มีผู้เลิกเหล้าได้ต่อเนื่อง 10 คน
30.00

 

2 เพื่อสร้างแกนนำชุมชนชวนคนเลิกเหล้า 10 ชุมชน
ตัวชี้วัด : เกิดแกนนำชุมชนชวนคนเลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ชุมชนละ 4 คน รวมเป็น 40 คน
40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 230
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
กลุ่มเป้าหมายที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการ 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลด ละ เลิก การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เข้าพรรษาและออกพรรษา (2) เพื่อสร้างแกนนำชุมชนชวนคนเลิกเหล้า 10 ชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานชมรมคนหัวใจเพชร ลด ละ เลิกเหล้า ต.พิมาน จำนวน 20 คน (2) พัฒนาศักยภาพคณะทำงานและแกนนำเพื่อเชิญชวนคนงดเหล้า 10 ชุมชน (3) รับสมัคร ค้นหากลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม และเก็บข้อมูลและติดตามพฤติกรรมกลุ่มเป้าหมายเดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 3 เดือน (4) เวทีช่วยชมเชียร์งดเหล้าเข้าพรรษาหลังงดเหล้ามาแล้ว 1 เดือน (5) อบรมฟื้นฟูพลังตับเสริมพลังชีวิตและเวทีช่วยชมเชียร์งดเหล้าเข้าพรรษาหลังงดเหล้าครบ 2 เดือน (6) ถอดบทเรียนและ เชิดชูเกียรติผู้งดเหล้าครบพรรษา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมชุมชน ลด ละ เลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตำบลพิมาน ปี 68 จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L8008-02-28

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดุษณีย์ เครือแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด