กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสร้างทีมเฝ้าระวังมีความพร้อมในการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชุน 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน 3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในทุกกลุ่มอายุ และ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในพื้นที่
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 100 ของหมู่บ้านมีทีมเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน 2.ร้อยละ 80 ของประชาชนในครัวเรือนมีความรู้และส่วนร่วมในควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน 3.ร้อยละอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร และ หมู่บ้านในเขตรับผิดชอบหมู่ที่ 1,2,และหมู่ที่ 7 มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในครัวเรือน (HI) ไม่เกิน 10 และ CI = 0
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างทีมเฝ้าระวังมีความพร้อมในการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชุน 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน  3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในทุกกลุ่มอายุ และ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการเฝ้าระวังและเตรียมความพร้อมของชุมชนในการควบคุมโรคไข้เลือดออก  ให้แก่ทีมเฝ้าระวังควบคุมโรคในชุมชน (2) กิจกรรมที่ 2 จัดกิจกรรมรณรงค์สร้างการมีส่วนร่วมในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อที่ลำคัญ แจกแผ่นพับให้ความรู้ ในชุมชน โรงเรียน โดยทีมเฝ้าระวังควบคุมโรค ทั้ง 3 หมู่บ้าน (ม.1 ม.2 และ ม.7) (3) กิจกรรมที่ 3 วัสดุการควบคุมและป้องกันโรค ได้แก่ สเปรย์กำจัดยุง/โลชั่นทากันยุง (สนันสนุนเฉพาะในกรณีครัวเรือนเกิดการระบาดโรคไข้เลือดออก) บ้านผู้ป่วยและบ้านที่อยู่ในรัศมี 100 เมตร (4) กิจกรรมที่ 4  อสม ติดตามและประเมินผลความชุกของลูกน้ำ เพื่อประเมินการมีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลายและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน โดยสรุปจากการรายงานลูกน้ำยุงลายผ่าน สมาร์ท อสม.เพื่อนำมาวิเคราะห์ในแต่ละหลังคาเรือน ในแต่ละสัปดาห์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh