กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีความเสี่ยงที่ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน 2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการตรวจหาปริมาณเลือดที่ไหลผ่านตัวกรองไตในหนึ่งนาที (eGFR) และผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจน้ำตาลสะสมในเลือด(HbA1C) อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 3 . เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจตาและเท้าโดยเจ้าหน้าที่ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 4. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าผลเลือด eGFR ≤ 45 ได้รับการติดตามค่า eGFR และผู้ป่วยเบาหวานมีค่าน้ำตาลสะสมในเลือด › 7 ได้มีการติดตามผลเลือดครั้งที่ 2 5.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าผลเลือด eGFR ≤ 45 ผู้ป่วยเบาหวานที่มีค่าผลเลือด HbA1C ≥ 10 ผลตรวจตาและเท้าผิดปกติ ได้รับการส่งต่อ และมีการติดตามเยี่ยมบ้าน
ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2. ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการตรวจหาปริมาณเลือดที่ไหลผ่านตัวกรองไตในหนึ่งนาที (eGFR) และผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจน้ำตาลสะสมในเลือด(HbA1C) 3. ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเบาหวานเข้ารับการตรวจตาและเท้า 4. ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าผลเลือด eGFR ≤ 45 ได้รับการติดตามค่า eGFR และผู้ป่วยเบาหวานมีค่าน้ำตาลสะสมในเลือด › 7 ได้มีการติดตามผลเลือดครั้งที่ 2 5. ร้อยละ 100 ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าผลเลือด eGFR ≤ 45 ผู้ป่วยเบาหวานที่มีค่าผลเลือด HbA1C ≥ 10 ผลตรวจตาและเท้าผิดปกติ ได้รับการส่งต่อ และได้รับการเยี่ยมบ้าน
1.00