โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลเขื่อนบางลาง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลเขื่อนบางลาง ”
ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางซากีย๊ะ เจ๊ะอีแต
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขื่อนบางลาง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลเขื่อนบางลาง
ที่อยู่ ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4122-01-01 เลขที่ข้อตกลง 02/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลเขื่อนบางลาง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขื่อนบางลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลเขื่อนบางลาง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลเขื่อนบางลาง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4122-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,570.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขื่อนบางลาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อซึ่งมียุงลายเป็นแมลงพาหะนำโรคที่สำคัญ การระบาดของโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนจะพบผู้ป่วยเป็นจำนวนมากเนื่องจากฝนที่ตกลงมาทำให้เกิดน้ำขังในภาชนะต่าง ๆ จึงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำเพิ่มจำนวนประชากรของยุงลายนำโรคได้เป็นอย่างดี การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพควรต้องเตรียมพร้อมควบคุมกำจัดยุงลายก่อนจะถึงช่วงฤดูการระบาดของโรคเพื่อลดจำนวนประชากรของยุงลายในพื้นที่และเพื่อทราบความเสี่ยงการเกิดโรคในพื้นที่ต่อไป ปัจจัยการระบาดที่สำคัญที่ทำให้มีการระบาดและมีการขยายพื้นที่ออกไปอย่างกว้างขวาง ได้แก่ การเพิ่มจำนวนของประชากรโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีชุมชนเพิ่มขึ้นมีการเคลื่อนไหวของประชากรและมียุงลายมากขึ้นตามการเพิ่มของภาชนะขังน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น การคมนาคมที่สะดวกขึ้นทำให้มีการเดินทางมากขึ้น ปัจจัยเหล่านี้ทำให้การแพร่กระจายของเชื้อต่าง ๆ เป็นไปอย่างรวดเร็วนอกจากนี้ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกอีกประการหนึ่ง ได้แก่ การที่พื้นที่มีเชื้อโรคไข้เลือดออกชุกชุมและมีมากกว่าหนึ่งชนิดในเวลาเดียวกัน หรือการติดเชื้อซ้ำซึ่งมีผลต่อการระบาดและแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออกด้วย จากการดำเนินโครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลเขื่อนบางลาง ปี 2566 และ ปี 2567 พบว่า สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในตำบลเขื่อนบางลางในปี 2566 มีจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก 27 ราย อัตราป่วย 732.30 ต่อแสนประชากร ปี 2567 มีจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก 17 ราย อัตราป่วย 461.08 ต่อแสนประชากร และ ปี 2568 (1 ตุลาคม 2567 – 31 ธันวาคม 2567) มีจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก 7 ราย อัตราป่วย 189.86 ต่อแสนประชากร (ข้อมูลจากรายงาน 506 รพ.บันนังสตา) จะเห็นได้ว่า ตำบลเขื่อนบางลางมีการระบาดของโรคไข้เลือดออกทุกปี แต่จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกลดลงอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยไข้เลือดออกพบมากในกลุ่มเด็กนักเรียน และพบมีการรับเชื้อจากการอยู่ร่วมกัน ในโรงเรียน ผ่านการสัมผัสในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในโรงเรียน ทำให้โรคไข้เลือดยังคงเป็นปัญหาสำคัญ ในระดับประเทศที่ต้องได้รับการป้องกันและควบคุมอย่างเร่งด่วน ไม่ว่าจะเป็นด้านการเฝ้าระวังโรค ด้านการป้องกันและการควบคุมโรคที่รวดเร็ว ทันเวลา และจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่าย ทั้งชุมชน ครู นักเรียน องค์กรต่างๆในชุมชน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ในการควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย รวมทั้งการปรับสภาพแวดล้อม ในครัวเรือนและชุมชน ส่งผลให้การแพร่ระบาดของไข้เลือดออก ลดลงและหมดไปในที่สุด
ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสันติ1 ได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญในปัญหาดังกล่าว จึงขอต่อเนื่องจัดโครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลเขื่อนบางลาง ปีงบ 2568 ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชนและหน่วยงานต่างๆในตำบลเขื่อนบางลาง
- เพื่อการควบคุมโรคให้ทันเวลาภายหลังการได้รับแจ้งมีผู้ป่วยไข้เลือดออกจากโรงพยาบาล โดยการกำจัดยุงพาหะนำโรคอย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสันติ 1
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,900
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สามารถควบคุมโรคได้อย่างทันเวลาและสามารถหยุดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลเขื่อนบางลางได้อย่างต่อเนื่อง
2. ไม่พบการสูญเสียในระดับที่รุนแรงของประชาชนจากโรคไข้เลือดออก
3. สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชนและหน่วยงานต่างๆในตำบลเขื่อนบางลาง
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อการควบคุมโรคให้ทันเวลาภายหลังการได้รับแจ้งมีผู้ป่วยไข้เลือดออกจากโรงพยาบาล โดยการกำจัดยุงพาหะนำโรคอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสันติ 1
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1900
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,900
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชนและหน่วยงานต่างๆในตำบลเขื่อนบางลาง (2) เพื่อการควบคุมโรคให้ทันเวลาภายหลังการได้รับแจ้งมีผู้ป่วยไข้เลือดออกจากโรงพยาบาล โดยการกำจัดยุงพาหะนำโรคอย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสันติ 1
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลเขื่อนบางลาง จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4122-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางซากีย๊ะ เจ๊ะอีแต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลเขื่อนบางลาง ”
ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางซากีย๊ะ เจ๊ะอีแต
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4122-01-01 เลขที่ข้อตกลง 02/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลเขื่อนบางลาง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขื่อนบางลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลเขื่อนบางลาง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลเขื่อนบางลาง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4122-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,570.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขื่อนบางลาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อซึ่งมียุงลายเป็นแมลงพาหะนำโรคที่สำคัญ การระบาดของโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนจะพบผู้ป่วยเป็นจำนวนมากเนื่องจากฝนที่ตกลงมาทำให้เกิดน้ำขังในภาชนะต่าง ๆ จึงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำเพิ่มจำนวนประชากรของยุงลายนำโรคได้เป็นอย่างดี การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพควรต้องเตรียมพร้อมควบคุมกำจัดยุงลายก่อนจะถึงช่วงฤดูการระบาดของโรคเพื่อลดจำนวนประชากรของยุงลายในพื้นที่และเพื่อทราบความเสี่ยงการเกิดโรคในพื้นที่ต่อไป ปัจจัยการระบาดที่สำคัญที่ทำให้มีการระบาดและมีการขยายพื้นที่ออกไปอย่างกว้างขวาง ได้แก่ การเพิ่มจำนวนของประชากรโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีชุมชนเพิ่มขึ้นมีการเคลื่อนไหวของประชากรและมียุงลายมากขึ้นตามการเพิ่มของภาชนะขังน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น การคมนาคมที่สะดวกขึ้นทำให้มีการเดินทางมากขึ้น ปัจจัยเหล่านี้ทำให้การแพร่กระจายของเชื้อต่าง ๆ เป็นไปอย่างรวดเร็วนอกจากนี้ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกอีกประการหนึ่ง ได้แก่ การที่พื้นที่มีเชื้อโรคไข้เลือดออกชุกชุมและมีมากกว่าหนึ่งชนิดในเวลาเดียวกัน หรือการติดเชื้อซ้ำซึ่งมีผลต่อการระบาดและแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออกด้วย จากการดำเนินโครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลเขื่อนบางลาง ปี 2566 และ ปี 2567 พบว่า สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในตำบลเขื่อนบางลางในปี 2566 มีจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก 27 ราย อัตราป่วย 732.30 ต่อแสนประชากร ปี 2567 มีจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก 17 ราย อัตราป่วย 461.08 ต่อแสนประชากร และ ปี 2568 (1 ตุลาคม 2567 – 31 ธันวาคม 2567) มีจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก 7 ราย อัตราป่วย 189.86 ต่อแสนประชากร (ข้อมูลจากรายงาน 506 รพ.บันนังสตา) จะเห็นได้ว่า ตำบลเขื่อนบางลางมีการระบาดของโรคไข้เลือดออกทุกปี แต่จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกลดลงอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยไข้เลือดออกพบมากในกลุ่มเด็กนักเรียน และพบมีการรับเชื้อจากการอยู่ร่วมกัน ในโรงเรียน ผ่านการสัมผัสในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในโรงเรียน ทำให้โรคไข้เลือดยังคงเป็นปัญหาสำคัญ ในระดับประเทศที่ต้องได้รับการป้องกันและควบคุมอย่างเร่งด่วน ไม่ว่าจะเป็นด้านการเฝ้าระวังโรค ด้านการป้องกันและการควบคุมโรคที่รวดเร็ว ทันเวลา และจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่าย ทั้งชุมชน ครู นักเรียน องค์กรต่างๆในชุมชน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ในการควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย รวมทั้งการปรับสภาพแวดล้อม ในครัวเรือนและชุมชน ส่งผลให้การแพร่ระบาดของไข้เลือดออก ลดลงและหมดไปในที่สุด ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสันติ1 ได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญในปัญหาดังกล่าว จึงขอต่อเนื่องจัดโครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลเขื่อนบางลาง ปีงบ 2568 ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชนและหน่วยงานต่างๆในตำบลเขื่อนบางลาง
- เพื่อการควบคุมโรคให้ทันเวลาภายหลังการได้รับแจ้งมีผู้ป่วยไข้เลือดออกจากโรงพยาบาล โดยการกำจัดยุงพาหะนำโรคอย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสันติ 1
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,900 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สามารถควบคุมโรคได้อย่างทันเวลาและสามารถหยุดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลเขื่อนบางลางได้อย่างต่อเนื่อง
2. ไม่พบการสูญเสียในระดับที่รุนแรงของประชาชนจากโรคไข้เลือดออก
3. สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชนและหน่วยงานต่างๆในตำบลเขื่อนบางลาง ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อการควบคุมโรคให้ทันเวลาภายหลังการได้รับแจ้งมีผู้ป่วยไข้เลือดออกจากโรงพยาบาล โดยการกำจัดยุงพาหะนำโรคอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสันติ 1 ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1900 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,900 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชนและหน่วยงานต่างๆในตำบลเขื่อนบางลาง (2) เพื่อการควบคุมโรคให้ทันเวลาภายหลังการได้รับแจ้งมีผู้ป่วยไข้เลือดออกจากโรงพยาบาล โดยการกำจัดยุงพาหะนำโรคอย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสันติ 1
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลเขื่อนบางลาง จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4122-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางซากีย๊ะ เจ๊ะอีแต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......