directions_run
โครงการโภชนาการดีส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลสะบ้าย้อย
ชื่อโครงการ | โครงการโภชนาการดีส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลสะบ้าย้อย |
รหัสโครงการ | 68-L8288-04 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลสะบ้าย้อย |
วันที่อนุมัติ | 27 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 19 มีนาคม 2568 - 19 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 20,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาววิลาวัลย์ ลูกสะเดา |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.632,100.929place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 20,000.00 | |||||
รวมงบประมาณ | 20,000.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | จากการสำรวจศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลสะบ้าย้อย พบว่า ร้อยละ 45.45 เด็กไม่รับประทานผักอาจจะมีสาเหตุมาจากไม่ชอบรสชาติของผัก เนื่องจากมีรสขม หรือลิ้นของเด็กยังไม่คุ้นเคยกับรสชาติของผัก ซึ่งผักบางชนิดอาจมีลักษณะที่เด็กไม่ชอบ เช่น มีสีเขียวเข้ม หรือมีเนื้อสั | 20,000.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
1.ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่ดีและเด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา เหมาะสมตามวัย 2.เด็กปฐมวัยมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่สมดุลและถูกสุขลักษณะและสามารถเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ 3.เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการด้านการเคลื่อนไหว การทรงตัวเหมาะสมตามวัย 4.ผู้ดูแลเด็กเล็ก ผู้ปกครองและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโภชนาการ และการส่งเสริมพัฒนาการ การประเมินและคัดกรองพัฒนาการเด็กเบื้องต้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 มี.ค. 2568 15:18 น.
project version 4.4.01 release 2022-02-13. ช่วยเหลือ