โครงการขยะรักษ์โลก รักษ์สิ่งแวดล้อม รักสุขภาพ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการขยะรักษ์โลก รักษ์สิ่งแวดล้อม รักสุขภาพ ”
ตำบลนาหมอศรี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสหรัฐ ทองเพิ่ม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหมอศรี
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการขยะรักษ์โลก รักษ์สิ่งแวดล้อม รักสุขภาพ
ที่อยู่ ตำบลนาหมอศรี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5201-1-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการขยะรักษ์โลก รักษ์สิ่งแวดล้อม รักสุขภาพ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาหมอศรี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหมอศรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการขยะรักษ์โลก รักษ์สิ่งแวดล้อม รักสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการขยะรักษ์โลก รักษ์สิ่งแวดล้อม รักสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาหมอศรี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5201-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,455.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหมอศรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การจัดการขยะเป็นส่วนสำคัญในการดูแลสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนอย่างยั่งยืน โดยเฉพาะในช่วงที่การระบาดของโรคติดต่อทางสิ่งแวดล้อม เช่น โรคไข้เลือดออก โรคจากเชื้อไวรัสที่มียุงเป็นพาหะ หรือโรคติดต่อจากการปนเปื้อนของน้ำและอาหาร ซึ่งเกิดจากการทิ้งขยะอย่างไม่ถูกวิธี ขยะที่ไม่ถูกจัดการอาจกลายเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของเชื้อโรคและพาหะนำโรคต่าง ๆ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนและสร้างภาระให้กับระบบสาธารณสุขการจัดการขยะอย่างมีประสิทธิภาพไม่เพียงแต่ช่วยลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมเท่านั้น แต่ยังเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันในระดับชุมชนต่อการเกิดโรคติดต่อที่เกี่ยวข้องกับขยะ ซึ่งการดำเนินงานจัดการขยะในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การคัดแยกขยะ การกำจัดขยะที่ถูกต้อง และการสร้างการรับรู้ให้แก่ประชาชน จะช่วยลดความเสี่ยงจากโรคติดต่อและส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การสะสมของขยะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค ขยะที่ถูกทิ้งไม่ถูกต้อง เช่น ขยะเปียก ขยะพลาสติก ขวดแก้ว หรือขยะที่มีน้ำขัง จะกลายเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง และสัตว์พาหะนำโรคอื่น ๆ ที่สามารถแพร่เชื้อโรคติดต่อสู่มนุษย์ได้ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคจากการติดเชื้อไวรัส หรือโรคที่เกิดจากการปนเปื้อนของน้ำและอาหาร การทิ้งขยะที่ไม่เหมาะสมส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ขยะที่ไม่ได้รับการจัดการอย่างถูกต้อง เช่น การทิ้งขยะในแหล่งน้ำสาธารณะ หรือการทิ้งขยะในพื้นที่โล่ง ทำให้เกิดการปนเปื้อนของน้ำดื่มและอาหารในชุมชน ซึ่งอาจเป็นสาเหตุของการระบาดของโรคติดต่อได้ การจัดการขยะอย่างยั่งยืนต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่การคัดแยกขยะที่ต้นทาง การร่วมกันกำจัดขยะที่ไม่ใช้แล้ว หรือการทำความสะอาดพื้นที่สาธารณะ ซึ่งการสร้างความรู้และการรณรงค์ให้ประชาชนเข้าใจถึงอันตรายของขยะที่ไม่ได้รับการจัดการอย่างถูกต้องจะช่วยลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ การมีระบบการจัดการขยะที่ชัดเจน และการดำเนินการที่มีประสิทธิภาพจะช่วยลดการสะสมของขยะและการแพร่กระจายของโรคในชุมชน โดยการใช้วิธีการที่เหมาะสมในการจัดการขยะ เช่น การฝังกลบขยะ การแปรรูปขยะ หรือการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ เพื่อลดปริมาณขยะและลดผลกระทบต่อสุขภาพลดการเกิดโรคติดต่อที่มีสาเหตุจากขยะในชุมชน ปรับปรุงสุขาภิบาลและคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่เพิ่มความรู้ความเข้าใจและการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะลดปริมาณขยะที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน องค์การบริหารส่วนตำบลนาหมอศรี จึงได้จัดทำโครงการขยะรักษ์โลก รักษ์สิ่งแวดล้อม รักสุขภาพเพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของประชาชน ลดความเสี่ยงจากการแพร่ระบาดของโรค และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในตำบล โดยการจัดการขยะอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพ จะเป็นแนวทางที่สำคัญในการลดผลกระทบจากปัญหาขยะและโรคติดต่อที่เกิดจากการไม่จัดการขยะอย่างถูกวิธี ตลอดถึงสามารถนำขยะที่ได้จากการคัดแยกมาสร้างมูลค่าเพิ่มได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อฝึกอบรมให้ความรู้ด้านการจัดการขยะอย่างถูกวิธีด้วยเทคนิค 3R ประกอบไปด้วย Reduce (ลด), Reuse (ใช้ซ้ำ), Recycle (รีไซเคิล)
- เพิ่อสร้างจิตสำนึกให้แก่ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะภายในครัวเรือนอย่างถูกวิธีและเป็นแบบอย่างให้แก่ครัวเรือนอื่น ๆ
- เพื่อลดปริมาณขยะประเภทถุงพลาสติกจากครัวเรือนไปสู่สถานที่กำจัดโดยการแปรรูปเป็นน้ำมันเพื่อเพิ่มมูลค่าขยะ และสามารถลดแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงาน
- ฝึกอบรมให้ความรู้ทั้งภาคทฏษฎีและปฏิบัติด้านการจัดการขยะด้วยเทคนิค 3R ประกอบไปด้วย Reduce (ลด), Reuse (ใช้ซ้ำ), Recycle (รีไซเคิล)
- การประชุมถอดบทเรียนการดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ประชาชนตำบลนาหมอศรี
50
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ทำให้ประชาชนมีความรู้ด้านการจัดการขยะตามหลัก 3R ประกอบไปด้วย Reduce (ลด), Reuse (ใช้ซ้ำ), Recycle (รีไซเคิล) และลดการสะสมของขยะและช่วยลดแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรคต่าง
- สามารถสร้างจิตสำนึกให้แก่ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะภายในครัวเรือนอย่างถูกวิธีและเป็นแบบอย่างให้แก่ครัวเรือนอื่น ๆ
3.เพื่อลดปริมาณขยะประเภทถุงพลาสติกจากครัวเรือนไปสู่สถานที่กำจัดโดยการแปรรูปเป็นน้ำมันเพื่อเพิ่มมูลค่าขยะ และสามารถลดแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อฝึกอบรมให้ความรู้ด้านการจัดการขยะอย่างถูกวิธีด้วยเทคนิค 3R ประกอบไปด้วย Reduce (ลด), Reuse (ใช้ซ้ำ), Recycle (รีไซเคิล)
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ด้านการจัดการขยะตามหลัก 3R ประกอบไปด้วย Reduce (ลด), Reuse (ใช้ซ้ำ), Recycle (รีไซเคิล) และลดการสะสมของขยะและช่วยลดแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรคต่างๆ
100.00
2
เพิ่อสร้างจิตสำนึกให้แก่ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะภายในครัวเรือนอย่างถูกวิธีและเป็นแบบอย่างให้แก่ครัวเรือนอื่น ๆ
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีส่วนในการจัดการขยะและเป็นต้นแบบให้แก่ครัวเรือนอื่นๆภายในตำบล
100.00
3
เพื่อลดปริมาณขยะประเภทถุงพลาสติกจากครัวเรือนไปสู่สถานที่กำจัดโดยการแปรรูปเป็นน้ำมันเพื่อเพิ่มมูลค่าขยะ และสามารถลดแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค
ตัวชี้วัด : สามารถลดขยะประเภทพลาสติกภายในครัวเรือนได้ ลดแหล่งเพาะพันธุ์ชื้อโรค
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
ประชาชนตำบลนาหมอศรี
50
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อฝึกอบรมให้ความรู้ด้านการจัดการขยะอย่างถูกวิธีด้วยเทคนิค 3R ประกอบไปด้วย Reduce (ลด), Reuse (ใช้ซ้ำ), Recycle (รีไซเคิล) (2) เพิ่อสร้างจิตสำนึกให้แก่ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะภายในครัวเรือนอย่างถูกวิธีและเป็นแบบอย่างให้แก่ครัวเรือนอื่น ๆ (3) เพื่อลดปริมาณขยะประเภทถุงพลาสติกจากครัวเรือนไปสู่สถานที่กำจัดโดยการแปรรูปเป็นน้ำมันเพื่อเพิ่มมูลค่าขยะ และสามารถลดแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) ฝึกอบรมให้ความรู้ทั้งภาคทฏษฎีและปฏิบัติด้านการจัดการขยะด้วยเทคนิค 3R ประกอบไปด้วย Reduce (ลด), Reuse (ใช้ซ้ำ), Recycle (รีไซเคิล) (3) การประชุมถอดบทเรียนการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการขยะรักษ์โลก รักษ์สิ่งแวดล้อม รักสุขภาพ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5201-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสหรัฐ ทองเพิ่ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการขยะรักษ์โลก รักษ์สิ่งแวดล้อม รักสุขภาพ ”
ตำบลนาหมอศรี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสหรัฐ ทองเพิ่ม
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลนาหมอศรี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5201-1-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการขยะรักษ์โลก รักษ์สิ่งแวดล้อม รักสุขภาพ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาหมอศรี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหมอศรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการขยะรักษ์โลก รักษ์สิ่งแวดล้อม รักสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการขยะรักษ์โลก รักษ์สิ่งแวดล้อม รักสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาหมอศรี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5201-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,455.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหมอศรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การจัดการขยะเป็นส่วนสำคัญในการดูแลสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนอย่างยั่งยืน โดยเฉพาะในช่วงที่การระบาดของโรคติดต่อทางสิ่งแวดล้อม เช่น โรคไข้เลือดออก โรคจากเชื้อไวรัสที่มียุงเป็นพาหะ หรือโรคติดต่อจากการปนเปื้อนของน้ำและอาหาร ซึ่งเกิดจากการทิ้งขยะอย่างไม่ถูกวิธี ขยะที่ไม่ถูกจัดการอาจกลายเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของเชื้อโรคและพาหะนำโรคต่าง ๆ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนและสร้างภาระให้กับระบบสาธารณสุขการจัดการขยะอย่างมีประสิทธิภาพไม่เพียงแต่ช่วยลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมเท่านั้น แต่ยังเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันในระดับชุมชนต่อการเกิดโรคติดต่อที่เกี่ยวข้องกับขยะ ซึ่งการดำเนินงานจัดการขยะในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การคัดแยกขยะ การกำจัดขยะที่ถูกต้อง และการสร้างการรับรู้ให้แก่ประชาชน จะช่วยลดความเสี่ยงจากโรคติดต่อและส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การสะสมของขยะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค ขยะที่ถูกทิ้งไม่ถูกต้อง เช่น ขยะเปียก ขยะพลาสติก ขวดแก้ว หรือขยะที่มีน้ำขัง จะกลายเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง และสัตว์พาหะนำโรคอื่น ๆ ที่สามารถแพร่เชื้อโรคติดต่อสู่มนุษย์ได้ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคจากการติดเชื้อไวรัส หรือโรคที่เกิดจากการปนเปื้อนของน้ำและอาหาร การทิ้งขยะที่ไม่เหมาะสมส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ขยะที่ไม่ได้รับการจัดการอย่างถูกต้อง เช่น การทิ้งขยะในแหล่งน้ำสาธารณะ หรือการทิ้งขยะในพื้นที่โล่ง ทำให้เกิดการปนเปื้อนของน้ำดื่มและอาหารในชุมชน ซึ่งอาจเป็นสาเหตุของการระบาดของโรคติดต่อได้ การจัดการขยะอย่างยั่งยืนต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่การคัดแยกขยะที่ต้นทาง การร่วมกันกำจัดขยะที่ไม่ใช้แล้ว หรือการทำความสะอาดพื้นที่สาธารณะ ซึ่งการสร้างความรู้และการรณรงค์ให้ประชาชนเข้าใจถึงอันตรายของขยะที่ไม่ได้รับการจัดการอย่างถูกต้องจะช่วยลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ การมีระบบการจัดการขยะที่ชัดเจน และการดำเนินการที่มีประสิทธิภาพจะช่วยลดการสะสมของขยะและการแพร่กระจายของโรคในชุมชน โดยการใช้วิธีการที่เหมาะสมในการจัดการขยะ เช่น การฝังกลบขยะ การแปรรูปขยะ หรือการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ เพื่อลดปริมาณขยะและลดผลกระทบต่อสุขภาพลดการเกิดโรคติดต่อที่มีสาเหตุจากขยะในชุมชน ปรับปรุงสุขาภิบาลและคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่เพิ่มความรู้ความเข้าใจและการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะลดปริมาณขยะที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน องค์การบริหารส่วนตำบลนาหมอศรี จึงได้จัดทำโครงการขยะรักษ์โลก รักษ์สิ่งแวดล้อม รักสุขภาพเพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของประชาชน ลดความเสี่ยงจากการแพร่ระบาดของโรค และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในตำบล โดยการจัดการขยะอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพ จะเป็นแนวทางที่สำคัญในการลดผลกระทบจากปัญหาขยะและโรคติดต่อที่เกิดจากการไม่จัดการขยะอย่างถูกวิธี ตลอดถึงสามารถนำขยะที่ได้จากการคัดแยกมาสร้างมูลค่าเพิ่มได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อฝึกอบรมให้ความรู้ด้านการจัดการขยะอย่างถูกวิธีด้วยเทคนิค 3R ประกอบไปด้วย Reduce (ลด), Reuse (ใช้ซ้ำ), Recycle (รีไซเคิล)
- เพิ่อสร้างจิตสำนึกให้แก่ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะภายในครัวเรือนอย่างถูกวิธีและเป็นแบบอย่างให้แก่ครัวเรือนอื่น ๆ
- เพื่อลดปริมาณขยะประเภทถุงพลาสติกจากครัวเรือนไปสู่สถานที่กำจัดโดยการแปรรูปเป็นน้ำมันเพื่อเพิ่มมูลค่าขยะ และสามารถลดแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงาน
- ฝึกอบรมให้ความรู้ทั้งภาคทฏษฎีและปฏิบัติด้านการจัดการขยะด้วยเทคนิค 3R ประกอบไปด้วย Reduce (ลด), Reuse (ใช้ซ้ำ), Recycle (รีไซเคิล)
- การประชุมถอดบทเรียนการดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
ประชาชนตำบลนาหมอศรี | 50 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ทำให้ประชาชนมีความรู้ด้านการจัดการขยะตามหลัก 3R ประกอบไปด้วย Reduce (ลด), Reuse (ใช้ซ้ำ), Recycle (รีไซเคิล) และลดการสะสมของขยะและช่วยลดแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรคต่าง
- สามารถสร้างจิตสำนึกให้แก่ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะภายในครัวเรือนอย่างถูกวิธีและเป็นแบบอย่างให้แก่ครัวเรือนอื่น ๆ 3.เพื่อลดปริมาณขยะประเภทถุงพลาสติกจากครัวเรือนไปสู่สถานที่กำจัดโดยการแปรรูปเป็นน้ำมันเพื่อเพิ่มมูลค่าขยะ และสามารถลดแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อฝึกอบรมให้ความรู้ด้านการจัดการขยะอย่างถูกวิธีด้วยเทคนิค 3R ประกอบไปด้วย Reduce (ลด), Reuse (ใช้ซ้ำ), Recycle (รีไซเคิล) ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ด้านการจัดการขยะตามหลัก 3R ประกอบไปด้วย Reduce (ลด), Reuse (ใช้ซ้ำ), Recycle (รีไซเคิล) และลดการสะสมของขยะและช่วยลดแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรคต่างๆ |
100.00 |
|
||
2 | เพิ่อสร้างจิตสำนึกให้แก่ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะภายในครัวเรือนอย่างถูกวิธีและเป็นแบบอย่างให้แก่ครัวเรือนอื่น ๆ ตัวชี้วัด : ประชาชนมีส่วนในการจัดการขยะและเป็นต้นแบบให้แก่ครัวเรือนอื่นๆภายในตำบล |
100.00 |
|
||
3 | เพื่อลดปริมาณขยะประเภทถุงพลาสติกจากครัวเรือนไปสู่สถานที่กำจัดโดยการแปรรูปเป็นน้ำมันเพื่อเพิ่มมูลค่าขยะ และสามารถลดแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค ตัวชี้วัด : สามารถลดขยะประเภทพลาสติกภายในครัวเรือนได้ ลดแหล่งเพาะพันธุ์ชื้อโรค |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
ประชาชนตำบลนาหมอศรี | 50 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อฝึกอบรมให้ความรู้ด้านการจัดการขยะอย่างถูกวิธีด้วยเทคนิค 3R ประกอบไปด้วย Reduce (ลด), Reuse (ใช้ซ้ำ), Recycle (รีไซเคิล) (2) เพิ่อสร้างจิตสำนึกให้แก่ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะภายในครัวเรือนอย่างถูกวิธีและเป็นแบบอย่างให้แก่ครัวเรือนอื่น ๆ (3) เพื่อลดปริมาณขยะประเภทถุงพลาสติกจากครัวเรือนไปสู่สถานที่กำจัดโดยการแปรรูปเป็นน้ำมันเพื่อเพิ่มมูลค่าขยะ และสามารถลดแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) ฝึกอบรมให้ความรู้ทั้งภาคทฏษฎีและปฏิบัติด้านการจัดการขยะด้วยเทคนิค 3R ประกอบไปด้วย Reduce (ลด), Reuse (ใช้ซ้ำ), Recycle (รีไซเคิล) (3) การประชุมถอดบทเรียนการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการขยะรักษ์โลก รักษ์สิ่งแวดล้อม รักสุขภาพ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5201-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสหรัฐ ทองเพิ่ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......