กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 20 พ.ค. 2568 20 พ.ค. 2568

 

1.จัดทำโครงการเสริมพลังกลุ่มเสี่ยงต่อโรค เบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 8 บ้านโต๊ะบัน และขออนุมัติโครงการ
    2.ประชาสัมพันธ์โครงการ และค้นหากลุ่มเป้าหมายที่มีค่าความดันและน้ำตาลในเลือดที่สงสัยว่าเป็นกลุ่มเสี่ยง เพื่อมาเข้าร่วมโครงการ     3.คัดกรองกลุ่มสงสัยหรือเสี่ยงด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เข้าร่วมโครงการ     4. ประเมินภาวะสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการก่อนและหลังการทำกิจกรรม     5. จัดกิจกรรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและติดตามค่าระดับน้ำตาลในเลือด ค่าความดันโลหิตสูงของกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
    6. ติดตามและประเมินผลโดยการคัดกรองติดตามค่าระดับน้ำตาลในเลือดและค่าความดันโลหิต ติดต่อกัน 1 เดือน

 

  1. กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ อย่างเข้าใจ
  2. อสม. และแกนนำสุขภาพ มีความรู้ในการคัดกรองโรคเรื้อรังเบื้องต้น

 

กิจกรรมติดตามระดับน้ำตาลในเลือดกลุ่มเสี่ยง และค่าความดันโลหิตสูง 20 พ.ค. 2568 20 พ.ค. 2568

 

1.จัดทำโครงการเสริมพลังกลุ่มเสี่ยงต่อโรค เบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 8 บ้านโต๊ะบัน และขออนุมัติโครงการ
    2.ประชาสัมพันธ์โครงการ และค้นหากลุ่มเป้าหมายที่มีค่าความดันและน้ำตาลในเลือดที่สงสัยว่าเป็นกลุ่มเสี่ยง เพื่อมาเข้าร่วมโครงการ     3.คัดกรองกลุ่มสงสัยหรือเสี่ยงด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เข้าร่วมโครงการ     4. ประเมินภาวะสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการก่อนและหลังการทำกิจกรรม     5. จัดกิจกรรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและติดตามค่าระดับน้ำตาลในเลือด ค่าความดันโลหิตสูง ของกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
    6. ติดตามและประเมินผลโดยการคัดกรองติดตามค่าระดับน้ำตาลในเลือดและค่าความดันโลหิต ติดต่อกัน 1 เดือน

 

  1. กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ อย่างเข้าใจ
  2. อสม. และแกนนำสุขภาพ มีความรู้ในการคัดกรองโรคเรื้อรังเบื้องต้น