กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ประจำปี 2568 ”
ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางหะซะนะฮ์ นาราปัตย์




ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ประจำปี 2568

ที่อยู่ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4155-01-02 เลขที่ข้อตกลง 002/68

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ประจำปี 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ประจำปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4155-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่นโยบายของกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดตัวชี้วัดของโรคไม่ติดต่อ เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs) เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบ ของร่างกาย เช่น ตา ไต หลอดเลือด เป็นต้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปี เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาที่สูง ในกลุ่มโรคความดันโลหิตสูงยิ่งคัดกรองมากก็จะพบกลุ่มเสี่ยงและจำนวนผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ ดังนั้น แนวทางแก้ไข ต้องดำเนินการให้เป็นระบบโดยเริ่มตั้งแต่การคัดกรอง จากนั้นนำมาจัดกลุ่ม ดี เสี่ยง ป่วย ในกลุ่มป่วยต้องดำเนินการให้การรักษา ต้องมีการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องที่บ้านให้ครอบคลุม แต่ถ้าหากจะใช้เจ้าหน้าที่ โดยกำหนดให้มีกิจกรรมการคัดกรอง ค้นหาผู้ป่วยในชุมชนและให้มีการลดละกิจกรรมเสี่ยงอันได้แก่ ละเลิกการสูบบุหรี่ ลดอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานผัก ผลไม้เพิ่มขึ้น มีการออกกำลังกายเป็นประจำ ลดภาวะน้ำหนักเกินประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาลูปัง มีภาวะการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่เกิดจากพฤติกรรมของตนเอง แต่ขาดการเฝ้าระวัง ขาดการป้องกัน การบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค ประกอบกับการขาดการออกกำลังกายที่ถูกต้องตามรูปแบบและยังมีพฤติกรรมที่ไม่นิยมรับประทานผัก จึงส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่มีภาวะป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติกรรมของตนเอง เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง และโรคหัวใจและหลอดเลือด ขาดการป้องกันโรค รอจนป่วย แล้วค่อยเยียวยารักษา ขณะเดียวกันผู้ป่วยจำนวนไม่น้อย ที่รับการรักษาไม่ต่อเนื่อง หรือรับประทานยาแต่ ยังไม่ตระหนักถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อน กลายเป็นผู้ป่วยติดเตียง   จากผลการตรวจคัดกรองสุขภาพประชาชนในชุมชนเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาลูปัง ปีงบประมาณ 2567 ในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ขึ้นไปได้รับคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 920 ราย พบอัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ จำนวน 11 ราย คิดเป็นร้อยละ 91.67 ในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเบาหวาน จำนวน 1,058 ราย พบอัตราป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ จำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี
  ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือแนบารู จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ประจำปี 2568 พร้อมทั้งรณรงค์ สร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพมีพฤติกรรมที่ดีอย่างยั่งยืน จึงจำเป็นต้องจัดทำโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงแก่ประชาชน กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
  2. 2. เพื่อสร้างความครอบคลุมของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในประชาชนที่ได้รับการตรวจคัดกรอง แล้วพบว่าเป็นประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
  3. 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการส่งต่อ และดูแลตามแนวทาง การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงของ
  4. 4. เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป
  5. 5. เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยง และได้รับการจัดบริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการ
  2. ประชาสัมพันธ์โครงการ
  3. จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร สื่อการสอน ที่ใช้ในการจัดกิจรรม
  4. สำรวจ ทำทะเบียนกลุ่มสตรีอายุ 35 ปีขึ้นไป
  5. ประสานงานวิทยากร
  6. จัดนิทรรศการเรื่องโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน
  7. จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน
  8. อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  9. ติดตามและให้คำแนะนำแก่กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง เบาหวานพร้อมวัดความดัน/เจาะDTX
  10. สรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. คัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชนทุกราย
  2. ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและได้รับการจัดบริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
  3. กลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงแก่ประชาชน กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
ตัวชี้วัด :

 

2 2. เพื่อสร้างความครอบคลุมของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในประชาชนที่ได้รับการตรวจคัดกรอง แล้วพบว่าเป็นประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ตัวชี้วัด :

 

3 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการส่งต่อ และดูแลตามแนวทาง การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงของ
ตัวชี้วัด :

 

4 4. เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป
ตัวชี้วัด :

 

5 5. เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยง และได้รับการจัดบริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงแก่ประชาชน กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 (2) 2. เพื่อสร้างความครอบคลุมของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในประชาชนที่ได้รับการตรวจคัดกรอง  แล้วพบว่าเป็นประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (3) 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการส่งต่อ และดูแลตามแนวทาง  การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงของ (4) 4. เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป (5) 5. เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยง    และได้รับการจัดบริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน      ความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการ (2) ประชาสัมพันธ์โครงการ (3) จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร สื่อการสอน ที่ใช้ในการจัดกิจรรม (4) สำรวจ ทำทะเบียนกลุ่มสตรีอายุ 35 ปีขึ้นไป (5) ประสานงานวิทยากร (6) จัดนิทรรศการเรื่องโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน (7) จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน (8) อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (9) ติดตามและให้คำแนะนำแก่กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง เบาหวานพร้อมวัดความดัน/เจาะDTX (10) สรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ประจำปี 2568 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4155-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางหะซะนะฮ์ นาราปัตย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด