กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการจัดตั้งสถานีสุขภาพชุมชน ตำบลมะนังยง ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางกูรอซีดะ บูละ




ชื่อโครงการ โครงการจัดตั้งสถานีสุขภาพชุมชน ตำบลมะนังยง ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3046-02-06 เลขที่ข้อตกลง 07/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดตั้งสถานีสุขภาพชุมชน ตำบลมะนังยง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดตั้งสถานีสุขภาพชุมชน ตำบลมะนังยง ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดตั้งสถานีสุขภาพชุมชน ตำบลมะนังยง ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3046-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ยังคงเป็นปัญหาสำคัญระดับโลก และเป็นสาเหตุอันดับต้นๆ ของการเสียชีวิตของคนไทย โดยเขตสุขภาพที่ 12 พบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งผู้ป่วยกลุ่มนี้มีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ ปี 2568 กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายให้ทุกจังหวัดจัดตั้งสถานีสุขภาพ (Health Station) ในชุมชน บูรณาการระบบบริการที่เชื่อมโยงโดยใช้กลไก 3 หมอ เพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงความรู้ในการดูแลสุขภาพ และสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพเบื้องต้นได้สะดวกและรวดเร็วโดยมี อสม.เป็นหมอคนที่ 1 เข้ามามีส่วนร่วมดูแลคนในชุมชน คัดกรองสุขภาพเบื้องต้น อาทิ ชั่งน้ำหนัก วัดความดัน เจาะน้ำตาลในเลือด โดยเริ่มแรก อสม.จะเป็นผู้ให้บริการและลงบันทึกผลการตรวจสุขภาพผ่านแอพ Smart อสม. ซึ่งข้อมูลจะส่งต่อไปยังหมอคนที่ 2 ทันที โดยมีเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในหน่วยบริการปฐมภูมิจัดการข้อมูลผ่านระบบรายงาน หากพบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงจะนำเข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน โดยทำงานร่วมกับหน่วยบริการปฐมภูมิ สำหรับกลุ่มที่สงสัยป่วยจะมีการกำกับติดตาม และส่งต่อแพทย์เพื่อเข้ารับการวินิจฉัยโดยเร็ว เมื่อประชาชนได้ใช้บริการเป็นประจำก็จะเริ่มเรียนรู้และเข้าใจ จนสามารถตรวจสุขภาพตัวเองได้ จากข้อมูลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะนังยง ในปี 2567 ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่เป็นกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน คิดเป็นร้อยละ 58ผลการคัดกรอง ปกติ ร้อยละ 83.6เสี่ยงร้อยละ 11.4 สงสัยป่วยร้อยละ 4.45 คน และกลุ่มเป้าได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน ผลการคัดกรอง ปกติ ร้อยละ 83.4เสี่ยง ร้อยละ 15.8 สงสัยป่วยร้อยละ 1.1 คน ซึ่งกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยพบค่อนข้างสูงมาก ซึ่งในปัจจุบันพบว่ากลุ่มเสี่ยงที่ขาดการติดตามดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง มีภาวะแทรกซ้อนโรคไม่ติดต่อเรื้อรั้งเกิดขึ้น เนื่องจากขาดอุปกรณ์สำหรับการติดตามอาการ หรือบางครั้งเกิดความล่าช้าไม่ทันเวลาเนื่องจากอุปกรณ์มีไม่เพียงพอดังนั้นชมรมสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลมะนังยง ได้ตระหนักว่าสุขภาพอนามัยของประชาชนเป็นพื้นฐานสำคัญของการพัฒนาหมู่บ้าน จึงจัดทำโครงการจัดตั้งสถานีสุขภาพชุมชน ตำบลมะนังยง ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อให้บริการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นโดยมี อสม.ประจำสถานีสุขภาพ ทุกสัปดาห์ในการเฝ้าระวังสุขภาพของประชาชน โดยมีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะนังยง เป็นพี่เลี้ยงสนับสนุนองค์ความรู้และกำกับติดตามในการให้บริการแก่ประชาชนในพื้นที่เพื่อป้องกันโรค และสร้างเสริมสุขภาพให้แก่ประชาชนอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มการเข้าถึงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  3. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน เพื่อพิจารณาหาแนวทางและวางแผนการดำเนินงาน พร้อมจัดหาสถานที่
  2. จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เพิ่ม
  3. อบรมพัฒนาศักยภาพของแกนนำ อสม. เพื่อให้ความรู้การตรวจคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และฝึกปฏิบัติใช้ อุปกรณ์ในการตรวจคัดกรอง พร้อมทั้งให้คำแนะนำแก่ประชาชนได้อย่างถูกต้อง
  4. ลงพื้นที่ปฏิบัติงานเชิงรุก
  5. ติดตามกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยให้การแนะนำ และรักษาที่เหมาะสม
  6. จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เพิ่ม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,132
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. จัดตั้งจุดบริการตรวจเช็คสุขภาพเพิ่มเติม ๖ จุดบริการ เพื่อให้ครอบคลุม ๑๑ จุดบริการ ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านหนองคล้า
  2. ประชาชนในพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการตรวจสุขภาพด้วยตนเองได้สะดวกมากขึ้น
  3. อสม. มีความรู้ความเข้าใจการตรวจคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ( โรคความดัน ,โรคเบาหวาน) และสามารถฝึกปฏิบัติใช้อุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองโรคได้ถูกต้อง
  4. ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ( โรคความดัน ,โรคเบาหวาน)
  5. ประชาชนในพื้นที่มีความพึงพอใจในการจัดตั้งสถานีสุขภาพในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการเข้าถึงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเข้าถึงการคัดกรอง
58.00 70.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง
16.90 10.00

 

3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง
15.85 10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1132
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,132
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการเข้าถึงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (3) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน เพื่อพิจารณาหาแนวทางและวางแผนการดำเนินงาน พร้อมจัดหาสถานที่ (2) จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เพิ่ม (3) อบรมพัฒนาศักยภาพของแกนนำ อสม. เพื่อให้ความรู้การตรวจคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และฝึกปฏิบัติใช้ อุปกรณ์ในการตรวจคัดกรอง พร้อมทั้งให้คำแนะนำแก่ประชาชนได้อย่างถูกต้อง (4) ลงพื้นที่ปฏิบัติงานเชิงรุก (5) ติดตามกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยให้การแนะนำ และรักษาที่เหมาะสม (6) จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เพิ่ม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดตั้งสถานีสุขภาพชุมชน ตำบลมะนังยง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3046-02-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกูรอซีดะ บูละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด