กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัยยาเสพติด ”
ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นายอานัส เจะเละ




ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัยยาเสพติด

ที่อยู่ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4155-02-03 เลขที่ข้อตกลง 010/68

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัยยาเสพติด จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัยยาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัยยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4155-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

นโยบายของรัฐบาลปัจจุบันให้ความสำคัญต่อเยาวชน เห็นจากสภาพปัจจุบันปัญหาสังคมไทยปัญหาในชุมชนคือ ปัญหายาเสพติดได้แพร่ระบาดอย่างรวดเร็วเด็กและเยาวชนในวัยเรียนซึ่งเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาชาติในอนาคตมีความสุ่มเสี่ยงสูงที่จะติดยาเสพติดโดยเฉพาะเยาวชน ซึ่งเป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อล่อแหลมอยากรู้อยากลองขาดความยั้งคิดติดเพื่อนมีปัญหาในครอบครัว รู้เท่าไม่ถึงการณ์ขาดการชี้แนะให้รู้ถึงพิษภัยยาเสพติด ความเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรมประเพณีตลอดจนเทคโนโลยีได้หลั่งไหลเข้าสู่ประเทศไทย สิ่งเหล่านี้ได้เข้ามามีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิต เนื่องจากปัญหายาเสพติดในชุมชนเป็นเรื่องที่เยาวชนเป็นส่วนหนึ่งของปัญหาและได้รับผลกระทบโดยตรง ดังนั้นการให้เยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมรับรู้และมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จะเป็นแนวทางให้เกิดการยอมรับและยึดถือปฏิบัติอีกทั้งเป็นแนวร่วมในการดำเนินงานง่ายต่อการขยายผลไปสู่เยาวชนทุกคน กิจกรรมที่เยาวชนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ได้แก่ การจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันยาเสพติดต่างๆ การจัดกิจกรรมชมรมต่อต้านยาเสพติดในชุมชน โดยกิจกรรมเหล่านี้ควรมีผู้นำชุมชนเป็นที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำต่อเยาวชนด้วยการที่เยาวชนได้มีโอกาสเข้ามีส่วนร่วมในกิจกรรมอันเป็นประโยชน์เช่นนี้ เป็นการพัฒนาบุคลิกภาพ ความเป็นผู้นำ และทักษะทางสังคมให้แก่เยาวชนที่มีส่วนร่วม ซึ่งเป็นการวางรากฐานด้านสุขภาพให้เข้มแข็งด้วยการเตรียมความพร้อมเพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพตั้งแต่แรกเริ่ม เพื่อให้เยาวชนสามารถเผชิญกับปัญหาและสภาวการณ์ที่คุกคามต่อสุขภาพได้ สภาเด็กและเยาวชนได้ตระหนักถึงปัญหาเหล่านี้ และเพื่อป้องกันเยาวชนที่อยู่ในชุมชนไม่ให้ไปยุ่งหรือข้องเกี่ยวกับปัญหายาเสพติด จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อป้องกัน แก้ไขโดยเน้นการให้ความรู้แก่เยาวชนเกี่ยวกับยาเสพติด และส่งเสริมให้เยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เพื่อให้ห่างไกลจากยาเสพติดและเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไปในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจและร่วมกันรณรงค์ป้องกันยาเสพติดในโรงเรียน
  2. เพื่อให้กลุ่มเยาวชนปลอดยาเสพติด
  3. เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขอรับงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลกาลูปัง
  2. ประชุมมอบหมายภาระหน้าที่และความรับผิบชอบของโครงการโดยดลุ่มเยาวชน
  3. ติดต่อประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  4. จัดการอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่กลุ่มเยาวชน โดยให้ความรู้ความเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของเยาวชนที่ดี การตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย สังคม
  5. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกาลูปัง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1) เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจและร่วมกันรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดในชุมชนเพื่อให้เป็นชุมชนที่สะอาดปลอดยาเสพติด 2) เยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ โดยไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด 3) สร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกาย จิตใจ และพัฒนาคุณภาพชีวิต ให้กับเยาวชน
4) สนับสนุนนโยบายของหน่วยงานที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจและร่วมกันรณรงค์ป้องกันยาเสพติดในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของยาเสพติด

 

2 เพื่อให้กลุ่มเยาวชนปลอดยาเสพติด
ตัวชี้วัด : เยาวชนปลอดยาเสพติด ร้อยละ 100

 

3 เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ตัวชี้วัด : เยาวชนร้อยละ 80 ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์จากการเล่นกีฬาและบำเพ็ญประโยชน์สาธารณะ

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจและร่วมกันรณรงค์ป้องกันยาเสพติดในโรงเรียน (2) เพื่อให้กลุ่มเยาวชนปลอดยาเสพติด (3) เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำโครงการเพื่อเสนอขอรับงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลกาลูปัง (2) ประชุมมอบหมายภาระหน้าที่และความรับผิบชอบของโครงการโดยดลุ่มเยาวชน (3) ติดต่อประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (4) จัดการอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่กลุ่มเยาวชน โดยให้ความรู้ความเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของเยาวชนที่ดี การตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย สังคม (5) ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกาลูปัง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัยยาเสพติด จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4155-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอานัส เจะเละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด