โครงการเด็กไทยสายตาดีเพื่อเพิ่มโอกาสการเรียนรู้ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการเด็กไทยสายตาดีเพื่อเพิ่มโอกาสการเรียนรู้ 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L5278-01-03 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | งานศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองบ้านพรุ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองบ้านพรุ |
วันที่อนุมัติ | 3 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤษภาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 25 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 224,920.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายวินัย รัตนพันธ์ นายกเทศมนตรีเมืองบ้านพรุ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนประถมศึกษาในเขตเทศบาลเมืองบ้านพรุ |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 3 มี.ค. 2568 | 31 ส.ค. 2568 | 224,920.00 | |||
รวมงบประมาณ | 224,920.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 1311 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | เด็กประถมศึกษาได้รับการตรวจสายตาด้วย ด้วย E-chart | 61.20 | ||
2 | เด็กนักเรียนปัญหาด้านสายตา | 59.10 | ||
3 | นักเรียนมีความรู้ในการดูแลสายตาแลโรคเกี่ยวกับสายตา | 69.10 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันเด็กและเยาวชนสายตาผิดปกติจะมีทั้งสั้นยาวและเอียงการเล่นคอมพิวเตอร์ในเด็กวัยประถม คืออายุต่ำกว่า 15 ปีเด็กจะใช้สายตามากจะทำให้สายตาสั้นเร็วกว่าปกติซึ่งมีทั้งสั้นเทียมหรือสั้นชั่วคราวและสั้นถาวร โดยอัตราการเกิดปัญหาสายตาสั้นขณะนี้เพิ่มขึ้นถึง 3 เท่าตัว จากที่เคยพบร้อยละ 8 ของจำนวนประชากรที่สายตาสั้น เป็นร้อยละ 30 ซึ่งจะทำให้เด็กมีปัญหาในการเรียน เด็กจะมองตัวหนังสือบนกระดานไม่ชัด ทำให้จดข้อมูลและเรียนไม่ทันเพื่อน และเกิดปัญหาเด็กเบื่อหน่ายการเรียน ไม่อยากเรียนต่อไป นอกจากนี้จะทำให้เกิดอาการปวดตา ปวดศีรษะโดยไม่รู้สาเหตุ ซึ่งเกิดเนื่องมาจากการเพ่งสายตา ซึ่งส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน เทศบาลเมืองบ้านพรุ ได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลป้องกันปัญหาทางสายตา ในเด็กและเยาวชน ในช่วงอายุ 7 - 18 ปี ซึ่งอยู่ในวัยกำลังศึกษาเล่าเรียนซึ่งมีความสำคัญมาก เทศบาลเมืองบ้านพรุในฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอำนาจหน้าที่ตามพรบ.เทศบาล พ.ศ.2496 (แก้ไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 14 พ.ศ.2562) มาตรา 50(6)(7) และพรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. พ.ศ.2542 มาตรา 16(10) (19) กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569) ที่เน้นการเตรียมพร้อมด้านกำลังคนและการเสริมสร้างศักยภาพของประชากรในทุกช่วงวัย จึงได้ดำเนินโครงการเด็กไทยสายตาดีเพื่อเพิ่มโอกาสการเรียนรู้เพื่อให้สามารถใช้ชีวิตได้ตามปกติและลดปัญหาอุปสรรคในการใช้ชีวิตประจำวันส่งเสริมคุณภาพชีวิตของเด็กและเยาวชนต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | พ.ค. 68 | มิ.ย. 68 | ก.ค. 68 | ส.ค. 68 |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | กิจกรรมการตรวจคัดกรองตาเด็กชั้นประถมศึกษา ด้วย E- chart โดยครูและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข(1 พ.ค. 2568-31 ก.ค. 2568) | 10,060.00 | ||||
2 | กิจกรรมการตรวจคัดกรองซ้ำด้วยนักทัศนมาตร และเครื่อง auto refraction สำหรับเด็กที่มีปัญหาทางด้านสายตา พร้อมจัดทำแว่นสายตาให้กับเด็ก(1 พ.ค. 2568-31 ส.ค. 2568) | 204,000.00 | ||||
3 | กิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคตา การดูแลรักษาดวงตาและมอบแว่นตาแก่นักเรียน(1 พ.ค. 2568-31 ส.ค. 2568) | 10,860.00 | ||||
รวม | 224,920.00 |
1 กิจกรรมการตรวจคัดกรองตาเด็กชั้นประถมศึกษา ด้วย E- chart โดยครูและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 1311 | 10,060.00 | 0 | 0.00 | 10,060.00 | |
1 พ.ค. 68 - 31 ก.ค. 68 | กิจกรรมการตรวจคัดกรองตาเด็กชั้นประถมศึกษา ด้วย E- chart โดยครูและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข | 1,311 | 10,060.00 | - | - | ||
2 กิจกรรมการตรวจคัดกรองซ้ำด้วยนักทัศนมาตร และเครื่อง auto refraction สำหรับเด็กที่มีปัญหาทางด้านสายตา พร้อมจัดทำแว่นสายตาให้กับเด็ก | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 1311 | 204,000.00 | 0 | 0.00 | 204,000.00 | |
1 พ.ค. 68 - 31 ส.ค. 68 | กิจกรรมการตรวจคัดกรองซ้ำด้วยนักทัศนมาตร และเครื่อง auto refraction สำหรับเด็กที่มีปัญหาทางด้านสายตา พร้อมจัดทำแว่นสายตาให้กับเด็ก | 1,311 | 204,000.00 | - | - | ||
3 กิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคตา การดูแลรักษาดวงตาและมอบแว่นตาแก่นักเรียน | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 1311 | 10,860.00 | 0 | 0.00 | 10,860.00 | |
1 พ.ค. 68 - 31 ส.ค. 68 | กิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคตา การดูแลรักษาดวงตาและมอบแว่นตาแก่นักเรียน | 1,311 | 10,860.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 3,933 | 224,920.00 | 0 | 0.00 | 224,920.00 |
เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาในเขตพื้นที่ได้รับการตรวจสายตาและแก้ปัญหาสายตา ส่งผลให้คุณภาพการดำเนินชีวิตดีขึ้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 มี.ค. 2568 11:29 น.