กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สร้างเสริมสุขภาวะ และป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่พบบ่อยในเครือข่ายผู้นำศาสนา ตำบลมะนังยง ปี 2568

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สร้างเสริมสุขภาวะ และป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่พบบ่อยในเครือข่ายผู้นำศาสนา ตำบลมะนังยง ปี 2568
รหัสโครงการ 68-L3046-02-10
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมผู้นำศาสนาตำบลมะนังยง
วันที่อนุมัติ 17 มีนาคม 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2568 - 31 สิงหาคม 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2568
งบประมาณ 11,850.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมุสตาฟากามา แวดือเระ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.813,101.402place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 75 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนผู้นำศาสนาตำบลมะนังยงที่ไม่ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพ
65.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและความเป็นอยู่ของประชาชน ทำให้วิถีการดำรงชีวิตของประชาชนเปลี่ยนแปลงตามไป จากการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2562-2563 พบว่า ปัญหาสุขภาพอันดับต้นของสังคมในปัจจุบัน คือ โรคที่เกิดจากพฤติกรรมทางสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไป คือ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ซึ่งมีกลุ่มโรคที่พบบ่อยในวัยกลางคนและวัยสูงอายุ คือ โรคกลุ่มที่เป็นความเสี่ยงของหลอดเลือด เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง และกลุ่มโรคที่เกิดจากความเสื่อมของร่างกายตามการเปลี่ยนแปลงของอายุและกลุ่มโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ เช่น สมองเสื่อม ซึมเศร้า กระดูกพรุน ข้อเสื่อม หกล้ม มวลกล้ามเนื้อน้อย โดยโรคไม่ติดต่อเรื้องรังเกิดจากปัจจัยเสี่ยงร่วมกันทางด้านพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม และเกิดผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ไม่ดีร่วมกัน กลุ่มเครือข่ายผู้นำศาสนาในพื้นที่เป็นกลุ่มที่มีบทบาทอย่างมากกับพื้นที่ในชุมชนจังหวัดชายแดนภาคใต้ ถ้ากลุ่มผู้นำศาสนาสามารถเป็นแกนนำด้านสุขภาพได้ การทำงานด้านสุขภาพในชุมชนจะมีประสิทธิภาพอย่างมาก จึงจัดทำโครงการ “หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สร้างเสริมสุขภาวะ และป้องกันโรคที่พบบ่อยในเครือข่ายผู้นำศาสนา” ขึ้น เพื่อให้ผู้นำทางศาสนาเป็นแกนนำการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการรับประทานอาหาร การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตในปัจจุบัน สามารถเข้าร่วมโครงการและนำความรู้ที่ได้ไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองต่อไปได้เพื่อเฝ้าระวังสุขภาพตนเองและผู้สูงอายุ ส่งเสริมให้มีความรู้ ทักษะ มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ สามารถบริหารจัดการสุขภาพได้ด้วยตนเอง และมีส่วนร่วมในการพัฒนาสุขภาพของชุมชนอย่างยั่งยืน รวมไปถึงยกระดับการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้ครอบคลุมทุกศาสนา ผ่านกลไกของผู้นำทางศาสนาและเครือข่ายอาสาสมัครเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ และสามารถเข้าถึงการบริการสุขภาพได้อย่างเท่าเทียมและทั่วถึง ส่งผลต่อการมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ และการมีคุณภาพชีวิตที่ดี ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ผู้นำศาสนาได้รับการตรวจคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ร้อยละ 100  ผู้นำศาสนาได้รับการตรวจคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรังประจำปี

70.00
2 เพื่อส่งเสริมความรู้ ทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และสามารถนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตที่เหมาะสม

ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ร้อยละ 50 ของกลุ่มเป้าหมายมีทักษะ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดำเนินชีวิตที่ประจำวัน

60.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณมี.ค. 68เม.ย. 68พ.ค. 68มิ.ย. 68ก.ค. 68ส.ค. 68
1 ประชุมวางแผนการดำเนินงานและรูปแบบกิจกรรมที่จะดำเนินการ(1 เม.ย. 2568-15 เม.ย. 2568) 750.00            
2 ตรวจคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในกลุ่มผู้นำศาสนา(1 เม.ย. 2568-30 เม.ย. 2568) 1,875.00            
3 ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพ นำไปสู่การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตทั้งด้านการรับประทานอาหารและการออกกำลังกายที่เหมาะสม(1 เม.ย. 2568-30 เม.ย. 2568) 7,350.00            
4 กิจกรรมติดตามพฤติกรรมหลังกิจกรรมส่งเสริมความรู้(1 ส.ค. 2568-31 ส.ค. 2568) 1,875.00            
รวม 11,850.00
1 ประชุมวางแผนการดำเนินงานและรูปแบบกิจกรรมที่จะดำเนินการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 750.00 0 0.00 750.00
21 มี.ค. 68 ประชุมวางแผนการดำเนินงานและรูปแบบกิจกรรมที่จะดำเนินการ 0 750.00 - -
2 ตรวจคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในกลุ่มผู้นำศาสนา กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 1,875.00 0 0.00 1,875.00
21 มี.ค. 68 ตรวจคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในกลุ่มผู้นำศาสนา 0 1,875.00 - -
3 ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพ นำไปสู่การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตทั้งด้านการรับประทานอาหารและการออกกำลังกายที่เหมาะสม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 7,350.00 0 0.00 7,350.00
1 - 30 เม.ย. 68 ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพ นำไปสู่การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตทั้งด้านการรับประทานอาหารและการออกกำลังกายที่เหมาะสม 0 7,350.00 - -
4 กิจกรรมติดตามพฤติกรรมหลังกิจกรรมส่งเสริมความรู้ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 1,875.00 0 0.00 1,875.00
1 - 31 ส.ค. 68 กิจกรรมติดตามพฤติกรรมหลังกิจกรรมส่งเสริมความรู้ 0 1,875.00 - -
รวมทั้งสิ้น 0 11,850.00 0 0.00 11,850.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้นำศาสนาสามารถเป็นต้นแบบบุคคลสุขภาพดี 2.เกิดกลไกบูรณาการภาคีเครือข่ายความร่วมมือ และขยายการขับเคลื่อนการส่งเสริมสุขภาพ 3.เกิดนวัตกรรมที่เหมาะสมตามหลักศาสนาและบริบทของพื้นที่ด้านการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 มี.ค. 2568 11:51 น.