กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น ตำบลลำสินธุ์ ”
ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางประพิศ นิมิสวิน




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น ตำบลลำสินธุ์

ที่อยู่ ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 16 เลขที่ข้อตกลง L3364.03.16

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น ตำบลลำสินธุ์ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำสินธุ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น ตำบลลำสินธุ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น ตำบลลำสินธุ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำสินธุ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สังคมไทยเป็นสังคมสูงอายุ ซึ่งสัดส่วนประชากรสูงอายุเทียบกับประชากรทังหมดเพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็ว การเตรียม การรองรับโดยให้เกิดการดูแลโดยชุมชนเพื่อชุมชนเป็นกลยุทธ์ที่สําคัญ แต่ปัจจุบันยังขาดข้อมูลรูปแบบกิจกรรมที่พึงประสงค์สําหรับผู้สูงอายุแต่ละกลุ่มและต้นทุนที่ชุมชนควรลงทุน กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพทีเหมาะสมในชุมชน สําหรับผู้สูงอายุกลุ่มที่ 1 (พึ่งตนเองได้) คือ จัดให้เข้าร่วมกิจกรรมสังคมอย่างต่อเนื่องในรูปของชมรมผู้สูงอายุ สําหรับผู้สูงอายุกลุ่มที่ 3 (ดูแลตนเองได้บ้าง) คือ จัดการดูแลเยี่ยมบ้านเพื่อช่วยเหลือกิจวัตรบางอย่างโดยมีเป้าหมายให้ ผู้สูงอายุสุขภาพดีดูแลตัวเองได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดีเป้าหมายรอง (SUBGOAL)คือ“สุขเพียงพอชะลอชราชีวิตยืนยาว” โดยมี6 ประเด็นที่ต้องการดำเนินการ ได้แก่การเคลื่อนไหว โภชนาการสิ่งแวดล้อม สุขภาพช่องปากสมองดีและมีความสุขจากนั้นก็มีการกำหนดวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดกลยุทธ์ ในการดำเนินงานและโครงการให้มีความเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน แผนยุทธศาสตร์ชาติแผนพัฒนาในด้านต่าง ๆ รวมไปถึงนโยบายรัฐบาลและมาตรการที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นส่วนสำคัญที่จะช่วยผลักดันและขับเคลื่อนการดำเนินงานให้ประสบความสำเร็จและบรรลุเป้าหมายหลักของ ผู้สูงอายุประกอบด้วย สถานการณ์กรอบการดำเนินงาน ภายใต้แนวคิด“สุขเพียงพอ ชะลอชรา ชีวายืนยาว”
ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 14 พ.ศ.2562 กำหนดหน้าที่ ของเทศบาลไว้ว่า “ให้มีหน้าที่ส่งเสริมพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชนผู้สูงอายุและผู้พิการและตามภารกิจ อำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภารกิจที่ได้รับการถ่ายโอนตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ. 2549”ได้กำหนดให้เทศบาลมีอำนาจหน้าที่ในการสงเคราะห์และส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 ได้กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในฐานะที่เป็นส่วนราชการที่มุ่งให้มีการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมที่เหมาะสมและจัดสวัสดิการให้ผู้สูงอายุได้รับอย่างทั่วถึงและเป็นธรรมให้การส่งเสริมช่วยเหลือสนับสนุนกิจกรรมต่างๆของผู้สูงอายุประกอบกับนโยบายของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ขับเคลื่อนนโยบายการส่งเสริมสนับสนุนนวัตกรรมการสเริมสร้างสุขภาพด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมพื้นบ้านซึ่งเทศบาลตำบลลำสินธุ์ได้จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพโดยชุมชนเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุตำบลลำสินธุ์ขึ้นเพื่อให้เกิดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มผู้สูงอายุและให้เห็นว่าผู้สูงอายุมีคุณค่าต่อการมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมและชุมชน สามารถนำมาเป็นแนวทางในการดำเนินงานในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน
  2. กิจกรรมให้ความรู้ผู้ดูแลผู้สูงอายุและประชาชนในวัยที่เตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุที่ สนใจในการทำนวัตกรรมออกกำลังกายพื้นบ้านด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น
  3. กิจกรรมลงพื้นที่เยี่ยมและบริการให้ความรู้ด้านการใช้นวัตกรรมออกกำลังกายพื้นบ้านให้กับผู้สูงอายุและ ผู้ดูแลที่บ้าน
  4. ติดตามประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
คณะทำงาน 10

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงร้อยละ 80 ในตำบลลำสินธุ์ที่ได้รับอุปกรณ์ออกกำลังกายจากนวัตกรรมท้องถิ่น

2.ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายจิตใจที่ดีสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างปกติ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
คณะทำงาน 10

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) กิจกรรมให้ความรู้ผู้ดูแลผู้สูงอายุและประชาชนในวัยที่เตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุที่ สนใจในการทำนวัตกรรมออกกำลังกายพื้นบ้านด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น (3) กิจกรรมลงพื้นที่เยี่ยมและบริการให้ความรู้ด้านการใช้นวัตกรรมออกกำลังกายพื้นบ้านให้กับผู้สูงอายุและ ผู้ดูแลที่บ้าน (4) ติดตามประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น ตำบลลำสินธุ์ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางประพิศ นิมิสวิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด