โครงการการสร้างเสริมสุขภาพโรคเรื้อรัง ชมรมเฟื่องฟ้า ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการการสร้างเสริมสุขภาพโรคเรื้อรัง ชมรมเฟื่องฟ้า ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุพิศ สำเภาทอง ตำแหน่ง ประธานชมรมเฟื่องฟ้า
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการการสร้างเสริมสุขภาพโรคเรื้อรัง ชมรมเฟื่องฟ้า ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-2-20 เลขที่ข้อตกลง 13/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการสร้างเสริมสุขภาพโรคเรื้อรัง ชมรมเฟื่องฟ้า ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการสร้างเสริมสุขภาพโรคเรื้อรัง ชมรมเฟื่องฟ้า ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการสร้างเสริมสุขภาพโรคเรื้อรัง ชมรมเฟื่องฟ้า ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-2-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,400.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทำให้การดำเนินชีวิตของคนไทยเปลี่ยนไป ออกกำลังกายน้อยลง บริโภคอาหาร หวาน มัน เค็ม และเครื่องดื่มประเภทมีน้ำตาลมาก ทำให้อัตราผู้ป่วยโรคเรื้อรังมากขึ้น ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมัน เป็นต้น
จากการวิเคราะห์ ปัญหาศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ในปี 2567 ในพื้นที่มีประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปทั้งหมด 3,309 คน พบว่ามีเป็นผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน 728 คน โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 1,126 คน โรคไขมัน จำนวน 43 คน รวมทั้งหมด 1,897 คน คิดเป็นร้อยละ 57.32 (จากฐานข้อมูลโปรแกรม JHCIS ณ วันที่ 26 ตุลาคม 2567)
ชมรมเฟื่องฟ้า จึงเห็นความสำคัญในการจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เพื่อให้การดูแลส่งเสริม ฟื้นฟูสุขภาพของผู้ป่วยและผู้ที่มีภาวะเสี่ยง พร้อมทั้งลดการใช้ยาแผนปัจจุบันในการรักษา และเพิ่มทางเลือกในการดูแลสุขภาพให้แก่ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเมนูเพื่อสุขภาพ ผู้ป่วยสามารถนำกลับไปปฏิบัติใช้ที่บ้านเพื่อดูแลสุขภาพของตนเองได้ ลดภาวะแทรกซ้อน สามารถดำรงอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้สมาชิกชมรมมีความรู้ ความสามารถ มีทักษะในการจัดการตนเอง
- 2.เพื่อให้สมาชิกชมรมได้รับรู้ถึงภาวะสุขภาพของตนเอง
- 3.สมาชิกชมรมสุขภาพมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (1 ครั้ง/เดือน)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการออกกำลังกาย รูปแบบการดูแลสุขภาพ ทุกวันอังคาร สัปดาห์ที่ 1 ของเดือน
- กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมเมนูเพื่อสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม
- กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการดูแลสุขภาพด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
- กิจกรรมที่ 4 รวมพลังสร้างเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
- กิจกรรมที่ 5 เที่ยวชมรอบเมือง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ชมรมใกล้เคียง
- กิจกรรมที่ 6 ฝึกสมาธิ ผ่อนคลาย โยคะ
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- ค่าจัดซื้อวัตถุดิบอาหารสาธิต
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- ค่าสมุนไพรพอกเข่า
- ค่าตอบแทนวิทยากร
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- ค่าอาหารกลางวัน
- ค่าป้ายอะคริลิค
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- ค่าอาหารกลางวัน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- ค่าตอบแทนวิทยากร
- ค่าจัดทำรูปเล่มโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สมาชิกชมรมสุขภาพมีความรู้ มีทักษะในการจัดการสุขภาพของตนเองและสามารถนำไปแนะนำคนอื่นได้
- สมาชิกชมรมสุขภาพมีสุขภาพที่เหมาะสมและเป็นต้นแบบการดูแลสุขภาพที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้สมาชิกชมรมมีความรู้ ความสามารถ มีทักษะในการจัดการตนเอง
ตัวชี้วัด : 1.สมาชิกชมรมสามารถควบคุมดูแลสุขภาพไม่ป่วยเป็นโรค/ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
100.00
2
2.เพื่อให้สมาชิกชมรมได้รับรู้ถึงภาวะสุขภาพของตนเอง
ตัวชี้วัด : 2.สมาชิกชมรมสามารถประเมินภาวะสุขภาพตนเองได้
100.00
3
3.สมาชิกชมรมสุขภาพมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (1 ครั้ง/เดือน)
ตัวชี้วัด : 3.สมาชิกชมรมมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันคิดและเกิดบุคคลต้นแบบ ไม่น้อยกว่า
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
20
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้สมาชิกชมรมมีความรู้ ความสามารถ มีทักษะในการจัดการตนเอง (2) 2.เพื่อให้สมาชิกชมรมได้รับรู้ถึงภาวะสุขภาพของตนเอง (3) 3.สมาชิกชมรมสุขภาพมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (1 ครั้ง/เดือน)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการออกกำลังกาย รูปแบบการดูแลสุขภาพ ทุกวันอังคาร สัปดาห์ที่ 1 ของเดือน (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมเมนูเพื่อสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม (3) กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการดูแลสุขภาพด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย (4) กิจกรรมที่ 4 รวมพลังสร้างเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (5) กิจกรรมที่ 5 เที่ยวชมรอบเมือง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ชมรมใกล้เคียง (6) กิจกรรมที่ 6 ฝึกสมาธิ ผ่อนคลาย โยคะ (7) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (8) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (9) ค่าจัดซื้อวัตถุดิบอาหารสาธิต (10) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (11) ค่าสมุนไพรพอกเข่า (12) ค่าตอบแทนวิทยากร (13) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (14) ค่าอาหารกลางวัน (15) ค่าป้ายอะคริลิค (16) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (17) ค่าอาหารกลางวัน (18) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (19) ค่าตอบแทนวิทยากร (20) ค่าจัดทำรูปเล่มโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการการสร้างเสริมสุขภาพโรคเรื้อรัง ชมรมเฟื่องฟ้า ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-2-20
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุพิศ สำเภาทอง ตำแหน่ง ประธานชมรมเฟื่องฟ้า )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการการสร้างเสริมสุขภาพโรคเรื้อรัง ชมรมเฟื่องฟ้า ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุพิศ สำเภาทอง ตำแหน่ง ประธานชมรมเฟื่องฟ้า
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-2-20 เลขที่ข้อตกลง 13/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการสร้างเสริมสุขภาพโรคเรื้อรัง ชมรมเฟื่องฟ้า ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการสร้างเสริมสุขภาพโรคเรื้อรัง ชมรมเฟื่องฟ้า ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการสร้างเสริมสุขภาพโรคเรื้อรัง ชมรมเฟื่องฟ้า ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-2-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,400.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทำให้การดำเนินชีวิตของคนไทยเปลี่ยนไป ออกกำลังกายน้อยลง บริโภคอาหาร หวาน มัน เค็ม และเครื่องดื่มประเภทมีน้ำตาลมาก ทำให้อัตราผู้ป่วยโรคเรื้อรังมากขึ้น ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมัน เป็นต้น
จากการวิเคราะห์ ปัญหาศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ในปี 2567 ในพื้นที่มีประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปทั้งหมด 3,309 คน พบว่ามีเป็นผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน 728 คน โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 1,126 คน โรคไขมัน จำนวน 43 คน รวมทั้งหมด 1,897 คน คิดเป็นร้อยละ 57.32 (จากฐานข้อมูลโปรแกรม JHCIS ณ วันที่ 26 ตุลาคม 2567)
ชมรมเฟื่องฟ้า จึงเห็นความสำคัญในการจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เพื่อให้การดูแลส่งเสริม ฟื้นฟูสุขภาพของผู้ป่วยและผู้ที่มีภาวะเสี่ยง พร้อมทั้งลดการใช้ยาแผนปัจจุบันในการรักษา และเพิ่มทางเลือกในการดูแลสุขภาพให้แก่ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเมนูเพื่อสุขภาพ ผู้ป่วยสามารถนำกลับไปปฏิบัติใช้ที่บ้านเพื่อดูแลสุขภาพของตนเองได้ ลดภาวะแทรกซ้อน สามารถดำรงอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้สมาชิกชมรมมีความรู้ ความสามารถ มีทักษะในการจัดการตนเอง
- 2.เพื่อให้สมาชิกชมรมได้รับรู้ถึงภาวะสุขภาพของตนเอง
- 3.สมาชิกชมรมสุขภาพมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (1 ครั้ง/เดือน)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการออกกำลังกาย รูปแบบการดูแลสุขภาพ ทุกวันอังคาร สัปดาห์ที่ 1 ของเดือน
- กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมเมนูเพื่อสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม
- กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการดูแลสุขภาพด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
- กิจกรรมที่ 4 รวมพลังสร้างเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
- กิจกรรมที่ 5 เที่ยวชมรอบเมือง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ชมรมใกล้เคียง
- กิจกรรมที่ 6 ฝึกสมาธิ ผ่อนคลาย โยคะ
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- ค่าจัดซื้อวัตถุดิบอาหารสาธิต
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- ค่าสมุนไพรพอกเข่า
- ค่าตอบแทนวิทยากร
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- ค่าอาหารกลางวัน
- ค่าป้ายอะคริลิค
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- ค่าอาหารกลางวัน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- ค่าตอบแทนวิทยากร
- ค่าจัดทำรูปเล่มโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 20 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สมาชิกชมรมสุขภาพมีความรู้ มีทักษะในการจัดการสุขภาพของตนเองและสามารถนำไปแนะนำคนอื่นได้
- สมาชิกชมรมสุขภาพมีสุขภาพที่เหมาะสมและเป็นต้นแบบการดูแลสุขภาพที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้สมาชิกชมรมมีความรู้ ความสามารถ มีทักษะในการจัดการตนเอง ตัวชี้วัด : 1.สมาชิกชมรมสามารถควบคุมดูแลสุขภาพไม่ป่วยเป็นโรค/ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน |
100.00 |
|
||
2 | 2.เพื่อให้สมาชิกชมรมได้รับรู้ถึงภาวะสุขภาพของตนเอง ตัวชี้วัด : 2.สมาชิกชมรมสามารถประเมินภาวะสุขภาพตนเองได้ |
100.00 |
|
||
3 | 3.สมาชิกชมรมสุขภาพมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (1 ครั้ง/เดือน) ตัวชี้วัด : 3.สมาชิกชมรมมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันคิดและเกิดบุคคลต้นแบบ ไม่น้อยกว่า |
100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 20 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 20 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้สมาชิกชมรมมีความรู้ ความสามารถ มีทักษะในการจัดการตนเอง (2) 2.เพื่อให้สมาชิกชมรมได้รับรู้ถึงภาวะสุขภาพของตนเอง (3) 3.สมาชิกชมรมสุขภาพมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (1 ครั้ง/เดือน)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการออกกำลังกาย รูปแบบการดูแลสุขภาพ ทุกวันอังคาร สัปดาห์ที่ 1 ของเดือน (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมเมนูเพื่อสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม (3) กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการดูแลสุขภาพด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย (4) กิจกรรมที่ 4 รวมพลังสร้างเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (5) กิจกรรมที่ 5 เที่ยวชมรอบเมือง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ชมรมใกล้เคียง (6) กิจกรรมที่ 6 ฝึกสมาธิ ผ่อนคลาย โยคะ (7) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (8) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (9) ค่าจัดซื้อวัตถุดิบอาหารสาธิต (10) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (11) ค่าสมุนไพรพอกเข่า (12) ค่าตอบแทนวิทยากร (13) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (14) ค่าอาหารกลางวัน (15) ค่าป้ายอะคริลิค (16) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (17) ค่าอาหารกลางวัน (18) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (19) ค่าตอบแทนวิทยากร (20) ค่าจัดทำรูปเล่มโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการการสร้างเสริมสุขภาพโรคเรื้อรัง ชมรมเฟื่องฟ้า ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-2-20
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุพิศ สำเภาทอง ตำแหน่ง ประธานชมรมเฟื่องฟ้า )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......