โครงการรณรงค์คัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป หมู่ที่ 13
ชื่อโครงการ | โครงการรณรงค์คัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป หมู่ที่ 13 |
รหัสโครงการ | 2568 – L1494 - 02 - 08 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขบ้านวังโตน หมู่ที่ 13 |
วันที่อนุมัติ | 4 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 7 มีนาคม 2568 - 30 สิงหาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 สิงหาคม 2568 |
งบประมาณ | 9,314.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | น.ส.พิมพร สมาธิ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.652,99.613place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 7 มี.ค. 2568 | 30 ส.ค. 2568 | 9,314.00 | |||
รวมงบประมาณ | 9,314.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 257 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคไม่่ติดต่อเรื้อรัง เป็นโรคที่่เกิดจากพฤติิกรรมเสี่ยงต่าง ๆ ในการใช้้ ชีวิตประจำวัน มีีการดำเนินโรคเป็นไปอย่างช้า ๆ ทำ ให้้ผู้้ป่วยเองไม่่รู้ตัว จนเกิดความผิดปกติิ ส่งผลให้้เกิดความผิดปกติิในระบบต่าง ๆ ของร่างกาย และเป็นสำเหตุสำคัญการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ประชากรทั่วโลกเสียชีวิติ จากโรค NCDs ถึง 41 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 74 ของสาเหตุุการเสียชีวิต ทั้งหมดของประชากรโลก และมากกว่าร้อยละ 70 ของสาเหตุุการเสียชีวิติ ทั้งหมดในประเทศ ปัจจัยหลักมาจากการสูบบุุหรี่่ การดื่มเครื่องดื่ม ที่มีีแอลกอฮอล์ การรับประทานอาหารที่่ไม่่เหมาะสม ชอบทานอาหาร ที่มีีรสจัด หวาน มัน และเค็ม เป็นประจำ การมีีภาวะเครียด และมีีกิจกรรม ทางกายไม่่เพียงพอ นอกจากนี้ยังได้้รับผลจากปัจจัยทางสังคม เช่น การขยายตัวของสังคมเมือง กลยุทธ์์ทางการตลาดที่่เปลี่ยนแปลงไป และการสื่อสารที่่ใช้้เทคโนโลยีที่่ ส่งตรงและกระทบต่อวิถีชีวิตของผู้้คนได้ สิ่งเหล่านี้จึงส่งผลถึงพฤติิกรรมการใช้ชีวิติของผู้้คนเปลี่ยนไปจากเดิม และทำให้้เกิดโรคไม่่ติดต่อที่ สำคัญเพิ่มขึ้น อาทิิ โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ์์ อัมพาต โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคอ้วน ปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับโรคไม่ติดต่อของประเทศไทยในปีพ.ศ.2556 คือความน่าจะเป็นของการเสียชีวิต ที่อายุ30 ปี ถึง70 ปีจากโรคหัวใจและหลอดเลือด, โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง, โรคเบาหวาน และโรคมะเร็งลดลงจาก15.3 % ในปี2550เป็น 15.1% และ 14.1 % ในปี2553, 2557ตามลำดับ หากพิจารณาเป็นอัตราตายตามอายุพบว่าอัตราการตาย ก่อนวัยอันควรจากโรคไม่ติดต่อ ไทยเพิ่มขึ้นจาก 343.06 ต่อแสนคนในปีพ.ศ.2552 เป็น 355.30 ต่อแสนคนในปีพ.ศ.2556 ดังนั้น ดำเนินงานเน้นนโยบายเชิงรุก เร่งการป้องกันโรคโดยใช้เครือข่ายระหว่าง รพ.สต.กับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพราะการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรค ที่เกิดจากพฤติกรรมของประชาชน จะประสบความสำเร็จมีประสิทธิภาพและเกิดความต่อเนื่องยั่งยืน จำเป็นอย่างยิ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย ที่เกี่ยวข้องทุกส่วน และใช้กระบวนการที่บูรณาการเชื่อมโยงการดำเนินงาน โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคที่เป็นปัญหาที่สำคัญในพื้นที่ ซึ่งในปีงบประมาณ 2567 ผลการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 13 บ้านวังโตน มีกลุ่มเสียงทั้งหมด 21 คน กลุ่มสงสัยป่วย จำนวน 12 คน และกลุ่มป่วย จำนวน 1 คน และผลการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน มีกลุ่มเสี่ยงทั้งหมด 38 คน กลุ่มสงสัยป่วย จำนวน 5 คน และกลุ่มป่วย จำนวน 1 คน และในปีงบประมาณ 2568 มีประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปจำนวน มีประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปจำนวน 257 คน และเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขบ้านวังโตน หมู่ที่13 จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์คัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป เพื่อให้ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามมาตรฐาน พร้อมทั้งรณรงค์ สร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพมีพฤติกรรมที่ดี และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | . เพื่อให้ประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง อย่างน้อยร้อยละ 80 |
80.00 | |
2 | เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และส่งต่ออย่างเป็นระบบ ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการส่งต่ออย่างเป็นระบบทุกคน |
80.00 | |
3 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ประชาชนในกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพ |
80.00 |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกัน ควบคุม โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
2.ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการค้นพบโดยเร็วและได้รับการรักษาที่ถูกต้องและต่อเนื่อง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 มี.ค. 2568 14:27 น.