โครงการ อสม.เข้มแข็ง ชุมชนไร้โรค ในพื้นที่หมู่ 7 ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการ อสม.เข้มแข็ง ชุมชนไร้โรค ในพื้นที่หมู่ 7 ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | 05/68 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | อาสาสมัครสาธารณสุข ม.7 |
วันที่อนุมัติ | 13 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 76,250.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | ประธานอาสาสมัครสาธารณสุข ม.7 |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 150 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ในปัจจุบัน คนไทยส่วนหนึ่งจะหันมาใส่ใจสภาวะสุขภาพด้วยการออกกำลังกายและรับประทานอาหารที่มีประโยชน์กันมากขึ้น แต่ก็ยังมีประชากรจำนวนไม่น้อยที่ละเลยการดูแลตนเองเนื่องจากสภาพสังคมและรูปแบบการใช้ชีวิตในด้านต่าง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้เกิดเป็นปัญหาเรื้อรังด้านสุขภาพ โดยเฉพาะกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือ NCDs (Non-communicable diseases) ซึ่งเกิดจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิตที่สามารถคร่าชีวิตคนไทยได้จำนวนมากในแต่ละปี โรคไม่ติดต่อ หรือ Non Communicable Diseases (NCDs) เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่ง ในประเทศไทย มีสาเหตุจากปัจจัยเสี่ยงหนึ่งปัจจัยหรือร่วมหลายปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยเสียงต้านพฤติกรรม ปัจจัยเสี่ยงค้านสิ่งแวดล้อมและปัจจัยเสี่ยงทางเมตาบอลิก กลุ่มโรค NCDs ที่เป็นปัญหาทาสำคัญทางสาธารณสุขของประเทศ ได้แก่ กลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือด (หมายถึง โรคหัวใจขาดเลือดโรคหลอดเลือดสมอง โรคความตันโลหิตสูง) โรคเบาหวาน โรคโตเรื้อรัง โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และโรคมะเร็ง โรคไม่ติดต่อเรื้อรังถูกขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค สอดคล้องตามเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี นโยบายของประเทศและกระทรวงสาธารณสุข และแผนยุทธศาสตร์การป้องกันและควบคมโรคไม่ติดต่อปี (พ.ศ. 2565 - 2570) รวมแผนงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยมี 4 มาตรการหลัก ได้แก่ (1) การนำชับเคลื่อนโยบายนอกจากนี้โรคที่คาดการณ์ว่าจะเกิดการระบาดกรมควบคุมโรคยังคงเฝ้าระวังโรคที่มีโอกาสเกิดการระบาดและส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ไม่ว่าจะเป็นโรคตามฤดูกาล หรือโรคที่เป็นปัญหาเฉพาะกลุ่ม ประกอบด้วย 12 โรค ดังนี้ 1.โรคมือเท้าปาก 2.โรคหัด 3.โรคฝีดาษวานร 4.โรคเมลิออยโดสิส (ไข้ดิน) 5.โรคไข้ฉี่หนู 6.โรคไข้หูดับ 7.โรคไวรัสซิกา 8.โรคชิคุนกุนยา (ไข้ปวดข้อยุงลาย) 9.โรคซิฟิลิ ที่สามารถป้องกันที่เกิดจา การใช้มาตรการสาธารณสุขขับเคลื่อนและฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศไทยในทุกมิติพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพการแพทย์ปฐมภูมิทั้งเขตชุมชนและเขตเมือง จัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิ และเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ 3,000 ทีม จังหวัดละ 1 อำเภอ สนับสนุนให้คนไทยทุกครอบครัว มีหมอประจำตัวครบ 3 คนโดยอสม.ของหมู่ที่ 7 ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปฏิบัติงานในชุมชนในบทบาท หมอคนที่ 1 ประจำครอบครัว มีการดำเนินงานคัดกรองภาวะสุขภาพของทุกกลุ่มวัย (health screening) คือ การค้นหาความเป็นไปได้ในการเกิดโรคหรือความผิดปกติในคนที่อาจยังไม่แสดงอาการของโรคหรือความผิดปกตินั้นๆ ออกมา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาโรคหรือปัจจัยสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดโรคในระยะเริ่มแรกและการส่งเสริมสุขภาพในทุกกลุ่มวัยตั้งแต่แรกเกิด จนถึงวัยผู้สูงอายุ เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้ดำเนินชีวิต ในสังคมได้อย่างปกติสุข มีสุขภาพกายและใจที่แข็งแรง ชุมชนเข้มแข็งไร้โรคภัย จากข้อมูลของอำเภอกรงปินังพบว่ามีอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง NCDs ที่เพิ่มสูงขึ้นทุกปี ในปี 2565 มีจำนวนผู้ป่วย NCDs รายใหม่จำนวน 146รายปี 2566 มีจำนวนผู้ป่วย NCDs รายใหม่จำนวน 176 ราย (คิดเป็นร้อยละ )ปี 2567 มีจำนวนผู้ป่วย NCDs รายใหม่จำนวน243 ราย ซึ่งจะเห็นได้ว่ามีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกๆปี และข้อมูลโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน(หัด ไอกรน )ในอำเภอกรงปินัง พบว่าอัตราป่วยด้วยไอกรนและหัด ในปี 2566 197.61 ต่อแสนประชาการ และในปี 2567 243.56 ต่อแสนประชากร ซึ่งอัตราการเกิดโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนในอำเภอกรงปินัง สอดคล้องกับข้อมูลความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี ยังอยู่ในเกณฑ์ต่ำมากเมื่อเทียบกับอำเภออื่นๆในจังหวัดยะลา กลุ่มอาสาสมัครหมู่ที่ 7 ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จึงต้องมีการจัดกิจกรรมคัดกรองภาวะสุขภาพของกลุ่มวัยทำงาน และวัยผู้สูงอายุเพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงที่จะเกิดโรค NCDs และการติดตามเชิงรุกในพื้นที่หมู่ที่ 7 ตำบลกรงปินัง ในกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี เพื่อให้ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ซึ่งส่งผลให้ประชาชนในทุกกลุ่มวัยของหมู่ที่ 7 ตำบลกรงปินัง ได้รับการคัดกรองภาวะสุขภาพ และส่งเสริมสุขภาพได้อย่างทั่วถึง นำไปสู่สังคมและชุมชนที่ไร้โรค
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. 1.เพื่อเพิ่มศักยภาพของอสม.ในการดำเนินงานคัดกรองภาวะสุขภาพ และการส่งเสริมสขภาพของประชาชนทุกกลุ่มวัย 1.ร้อยละ100ของอสม.มีความรู้และความสามารถ ปฏิบัติงานตามแนวทางการคัดกรองภาวะสุขภาพของในประชาชนทุกกลุ่มวัย |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 700 | 76,250.00 | 0 | 0.00 | 76,250.00 | |
1 ก.พ. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงคณะทำงานและแกนนำสุขภาพในการดำเนินการโครงการ อสม.เข้มแข็ง ชุมชนไร้โรค ในพื้นที่หมู่7 ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2568 | 50 | 1,750.00 | - | - | ||
2 ก.พ. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพในการคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ใหญ่ ในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป และกลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่หมู่ที่ 7 ตำบลกรงปินัง | 100 | 22,400.00 | - | - | ||
2 ก.พ. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมที่ 3 จัดตั้งศูนย์คนไทยห่างไกลโรค NCDS ให้ความรู้และรณรงค์คัดกรองสุขภาพกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป และผู้สูงอายุ ในพื้นที่หมู่ที่ 7 ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา | 300 | 15,550.00 | - | - | ||
2 ก.พ. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง การดูแลสุขภาพ เพื่อให้ห่างไกลโรคไม่ติดต่อ ในกลุ่มวัยทำงานและผู้สูงอายุ | 100 | 20,800.00 | - | - | ||
2 ก.พ. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมการรณรงค์และติดตามการรับวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี | 150 | 15,750.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 700 | 76,250.00 | 0 | 0.00 | 76,250.00 |
- เพิ่มศักยภาพแกนนำสุขภาพ มีความรู้ ทักษะ และความสามารถในการให้บริการด้านสาธารณสุขแก่ ชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- พัฒนาระบบเฝ้าระวังและป้องกันโรค แกนนำสุขภาพสามารถช่วยติดตาม สอดส่อง และแจ้งเตือน โรคระบาดหรือปัญหาสุขภาพในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็วและแม่นยำ
- เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจด้านสุขภาพมากขึ้น นำไปสู่การดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวได้ดีขึ้น
- ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน ชุมชนมีบทบาทในการดูแลสุขภาพร่วมกับ อสม. และหน่วยงานสาธารณสุข ทำให้เกิดความร่วมมือที่ดี
- พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ประชาชนมีสุขภาพที่ดีขึ้น ส่งผลให้คุณภาพชีวิตโดยรวมของชุมชนดีขึ้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 มี.ค. 2568 15:56 น.