โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดตำบลท่าเรือ ประจำปี 2568 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลท่าเรือ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดตำบลท่าเรือ ประจำปี 2568 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลท่าเรือ ”
ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางนิตยา รอเกตุ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดตำบลท่าเรือ ประจำปี 2568 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลท่าเรือ
ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 18/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 มีนาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดตำบลท่าเรือ ประจำปี 2568 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลท่าเรือ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดตำบลท่าเรือ ประจำปี 2568 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลท่าเรือ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดตำบลท่าเรือ ประจำปี 2568 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลท่าเรือ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 มีนาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,050.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การฝากครรภ์เป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากรเริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์ เพื่อการตั้งครรภ์และการคลอดเป็นไปอย่างปลอดภัยทั้งมารดาและทารก ลดภาวะแทรกซ้อนและการคลอดก่อนกำหนด การคลอดก่อนกำหนดเป็นสาเหตุสำคัญของการตายและภาวะทุพพลภาพของทารกแรกเกิด ปัญหาการคลอดก่อนกำหนด เกิดจากปัจจัยเสี่ยงทั้งด้านกายภาพ ชีวภาพ สารเคมี สิ่งแวดล้อม และจิตสังคม ซึ่งมีผลทำให้เกิดการคลอดก่อนกำหนด เช่น การปฏิบัติตนของมารดา เรื่องโภชนาการขณะตั้งครรภ์ ความเครียด การใช้ยาและสารเสพติด และการติดตามทารกในครรภ์ ผลกระทบจากการที่มารดาคลอดก่อนกำหนด มารดาต้องพักรักษาตัวเป็นเวลานาน ส่งผลต่อการดำเนินชีวิต เกิดปัญหาต่างๆตามมามากมาย นอกจากนี้บุตรที่คลอดก่อนกำหนด จะมีน้ำหนักตัวน้อย เจ็บป่วยง่าย มารดาต้องดูแลบุตรอย่างใกล้ชิด ส่งผลให้มารดามีความวิตกกังวล สุขภาพร่างกายไม่แข็งแรง
จากสถิติการคลอดก่อนกำหนดในจังหวัดสตูล 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง ดังนี้ ปี พ.ศ.2565 พบว่ามีการคลอดก่อนกำหนดจำนวน 260 คน คิดเป็นร้อยละ 11.20 , ปี พ.ศ.2566 พบว่ามีการคลอดก่อนกำหนด 247 คน คิดเป็นร้อยละ 11.04 และปี พ.ศ.2567 พบว่ามีการคลอดก่อนกำหนด 193 คน คิดเป็นร้อยละ 9.68 ผลการดำเนินงานดูแลหญิงตั้งครรภ์และสถิติทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ของตำบลท่าเรือ 3 ปีย้อนหลัง พบว่าทารกแรกเกิดมีน้ำหนักแรกคลอดน้อยกว่า 2,500 กรัม ดังนี้ ปี พ.ศ.2565 จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 10.17 , ปี พ.ศ.2566 จำนวน 4 คน ร้อยละ 9.09 และปี พ.ศ.2567 จำนวน 4 คน ร้อยละ 10 ซึ่งพบว่าปัญหาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ไม่ถูกต้องขณะตั้งครรภ์ การดูแลตนเองและทารกในครรภ์อาจไม่เหมาะสม ก่อให้เกิดภาวะเสี่ยงสูงต่อการคลอดก่อนกำหนดได้ และบุคคลในครอบครัวรวมถึงภาคีเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านของตำบลท่าเรือ เป็นบุคคลสำคัญที่ช่วยในการดูแล เฝ้าระวังหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งจะต้องทบทวนความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ เพื่อลดปัญหาและป้องกันการคลอดก่อนกำหนดขณะตั้งครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์ในตำบลท่าเรือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลท่าเรือ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด พร้อมกับมีการเสริมความรู้การดูแลและติดตามหญิงตั้งครรภ์ มุ่งเน้นการส่งเสริมด้านความรู้ และการติดตามขณะตั้งครรภ์ตลอดจนหลังคลอดให้มีความปลอดภัยทั้งมารดาและทารก รวมถึงการส่งเสริมความรู้ให้แก่ภาคีเครือข่าย อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลท่าเรือ เพื่อการเข้าถึงและรวดเร็วในการพบเจอปัญหา สามารถส่งต่อข้อมูลมายังเจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้อย่างรวดเร็ว ลดปัญหาความเสี่ยงต่างๆขณะตั้งครรภ์ตลอดจนหลังคลอดได้อย่างปลอดภัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดปัญหาและป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดขณะตั้งครรภ์
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามเกณฑ์และการฝากครรภ์มีคุณภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์และสาธิตวิธีการออกกำลังกายในหญิงตั้งครรภ์
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์รณรงค์ให้
- กิจกรรมติดตามหญิงตั้งครรภ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
15
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
15
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สามารถลดปัญหาและป้องกันการคลอดก่อนกำหนดขณะตั้งครรภ์ได้
- หญิงตั้งครรภ์สามารถมาฝากครรภ์ตามเกณฑ์และการฝากครรภ์มีคุณภาพได้
- กลุ่มเป้าหมาย.มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลและติดตามหญิงตั้งครรภ์ เพื่อเฝ้าระวังการคลอดก่อนกำหนด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดปัญหาและป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดขณะตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 65 หญิงตั้งครรภ์ลดปัญหาและป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดขณะตั้งครรภ์
2
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามเกณฑ์และการฝากครรภ์มีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามเกณฑ์และการฝากครรภ์มีคุณภาพ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
15
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
15
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปัญหาและป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดขณะตั้งครรภ์ (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามเกณฑ์และการฝากครรภ์มีคุณภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์และสาธิตวิธีการออกกำลังกายในหญิงตั้งครรภ์ (2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์รณรงค์ให้ (3) กิจกรรมติดตามหญิงตั้งครรภ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดตำบลท่าเรือ ประจำปี 2568 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลท่าเรือ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนิตยา รอเกตุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดตำบลท่าเรือ ประจำปี 2568 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลท่าเรือ ”
ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางนิตยา รอเกตุ
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 18/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 มีนาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดตำบลท่าเรือ ประจำปี 2568 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลท่าเรือ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดตำบลท่าเรือ ประจำปี 2568 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลท่าเรือ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดตำบลท่าเรือ ประจำปี 2568 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลท่าเรือ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 มีนาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,050.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การฝากครรภ์เป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากรเริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์ เพื่อการตั้งครรภ์และการคลอดเป็นไปอย่างปลอดภัยทั้งมารดาและทารก ลดภาวะแทรกซ้อนและการคลอดก่อนกำหนด การคลอดก่อนกำหนดเป็นสาเหตุสำคัญของการตายและภาวะทุพพลภาพของทารกแรกเกิด ปัญหาการคลอดก่อนกำหนด เกิดจากปัจจัยเสี่ยงทั้งด้านกายภาพ ชีวภาพ สารเคมี สิ่งแวดล้อม และจิตสังคม ซึ่งมีผลทำให้เกิดการคลอดก่อนกำหนด เช่น การปฏิบัติตนของมารดา เรื่องโภชนาการขณะตั้งครรภ์ ความเครียด การใช้ยาและสารเสพติด และการติดตามทารกในครรภ์ ผลกระทบจากการที่มารดาคลอดก่อนกำหนด มารดาต้องพักรักษาตัวเป็นเวลานาน ส่งผลต่อการดำเนินชีวิต เกิดปัญหาต่างๆตามมามากมาย นอกจากนี้บุตรที่คลอดก่อนกำหนด จะมีน้ำหนักตัวน้อย เจ็บป่วยง่าย มารดาต้องดูแลบุตรอย่างใกล้ชิด ส่งผลให้มารดามีความวิตกกังวล สุขภาพร่างกายไม่แข็งแรง จากสถิติการคลอดก่อนกำหนดในจังหวัดสตูล 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง ดังนี้ ปี พ.ศ.2565 พบว่ามีการคลอดก่อนกำหนดจำนวน 260 คน คิดเป็นร้อยละ 11.20 , ปี พ.ศ.2566 พบว่ามีการคลอดก่อนกำหนด 247 คน คิดเป็นร้อยละ 11.04 และปี พ.ศ.2567 พบว่ามีการคลอดก่อนกำหนด 193 คน คิดเป็นร้อยละ 9.68 ผลการดำเนินงานดูแลหญิงตั้งครรภ์และสถิติทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ของตำบลท่าเรือ 3 ปีย้อนหลัง พบว่าทารกแรกเกิดมีน้ำหนักแรกคลอดน้อยกว่า 2,500 กรัม ดังนี้ ปี พ.ศ.2565 จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 10.17 , ปี พ.ศ.2566 จำนวน 4 คน ร้อยละ 9.09 และปี พ.ศ.2567 จำนวน 4 คน ร้อยละ 10 ซึ่งพบว่าปัญหาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ไม่ถูกต้องขณะตั้งครรภ์ การดูแลตนเองและทารกในครรภ์อาจไม่เหมาะสม ก่อให้เกิดภาวะเสี่ยงสูงต่อการคลอดก่อนกำหนดได้ และบุคคลในครอบครัวรวมถึงภาคีเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านของตำบลท่าเรือ เป็นบุคคลสำคัญที่ช่วยในการดูแล เฝ้าระวังหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งจะต้องทบทวนความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ เพื่อลดปัญหาและป้องกันการคลอดก่อนกำหนดขณะตั้งครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์ในตำบลท่าเรือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลท่าเรือ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด พร้อมกับมีการเสริมความรู้การดูแลและติดตามหญิงตั้งครรภ์ มุ่งเน้นการส่งเสริมด้านความรู้ และการติดตามขณะตั้งครรภ์ตลอดจนหลังคลอดให้มีความปลอดภัยทั้งมารดาและทารก รวมถึงการส่งเสริมความรู้ให้แก่ภาคีเครือข่าย อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลท่าเรือ เพื่อการเข้าถึงและรวดเร็วในการพบเจอปัญหา สามารถส่งต่อข้อมูลมายังเจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้อย่างรวดเร็ว ลดปัญหาความเสี่ยงต่างๆขณะตั้งครรภ์ตลอดจนหลังคลอดได้อย่างปลอดภัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดปัญหาและป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดขณะตั้งครรภ์
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามเกณฑ์และการฝากครรภ์มีคุณภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์และสาธิตวิธีการออกกำลังกายในหญิงตั้งครรภ์
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์รณรงค์ให้
- กิจกรรมติดตามหญิงตั้งครรภ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 15 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 15 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สามารถลดปัญหาและป้องกันการคลอดก่อนกำหนดขณะตั้งครรภ์ได้
- หญิงตั้งครรภ์สามารถมาฝากครรภ์ตามเกณฑ์และการฝากครรภ์มีคุณภาพได้
- กลุ่มเป้าหมาย.มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลและติดตามหญิงตั้งครรภ์ เพื่อเฝ้าระวังการคลอดก่อนกำหนด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดปัญหาและป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดขณะตั้งครรภ์ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 65 หญิงตั้งครรภ์ลดปัญหาและป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดขณะตั้งครรภ์ |
|
|||
2 | เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามเกณฑ์และการฝากครรภ์มีคุณภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามเกณฑ์และการฝากครรภ์มีคุณภาพ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 15 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 15 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปัญหาและป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดขณะตั้งครรภ์ (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามเกณฑ์และการฝากครรภ์มีคุณภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์และสาธิตวิธีการออกกำลังกายในหญิงตั้งครรภ์ (2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์รณรงค์ให้ (3) กิจกรรมติดตามหญิงตั้งครรภ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดตำบลท่าเรือ ประจำปี 2568 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลท่าเรือ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนิตยา รอเกตุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......