โครงการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ โดยวิธี fit test ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ โดยวิธี fit test ปี 2568 ”
ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางเมธี มนุกูล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ โดยวิธี fit test ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2490-1-06 เลขที่ข้อตกลง 18/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ โดยวิธี fit test ปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ โดยวิธี fit test ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ โดยวิธี fit test ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2490-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,065.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
มะเร็งลำไส้ใหญ่ในประเทศไทยเป็นโรคที่พบบ่อยเป็นอันดับ 3 ในเพศชาย และอันดับ 2 ในเพศหญิง (จากสถิติของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ) และในปัจจุบันอัตราการเกิดโรคมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยส่วนใหญ่ เมื่อมาพบแพทย์ก็มักพบโรคในระยะที่เป็นมากแล้วซึ่งทำให้มีโอกาสการเสียชีวิตสูง ด้วยปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงเพิ่มมากขึ้น เช่น การรับประทานอาหาร วิถีการดำเนินชีวิต และการถ่ายทอดทางพันธุกรรมที่กำลังเป็นปัญหาต่อการดำเนินชีวิตของคนในสังคม การตรวจคัดกรองเพื่อป้องกันความเสี่ยงโรคของโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงจึงเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อเพิ่มอัตราการตรวจให้ครอบคลุมมากขึ้น การตรวจเลือดแฝงในอุจจาระ ด้วยชุดตรวจ Fit Test ซึ่งเป็นวิธีการตรวจอุจจาระเพื่อหาเลือดแฝงที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ก็เป็นอีกวิธีที่สามารถตรวจคัดกรองความเสี่ยงของมะเร็งลำไส้ได้ในเบื้องต้น
ซึ่งยิ่งได้รับการตรวจคัดกรองเร็ว ก็ยิ่งลดความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งลำไส้ หากเป็นแล้ว ก็ยิ่งเพิ่มโอกาสในการรักษา และลดค่าใช้จ่ายทางการแพทย์
จากการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปีงบประมาณ 2566.ในอัตราร้อยละ10 ของกลุ่มเสี่ยงชายและหญิง อายุ 50-70 ปีของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลุวอ จำนวน 50 คนพบผลผิดปกติ 6 คนคิดเป็นร้อยละ 12 ได้ส่งต่อไปรพ.นราธิวาสราชนครินทร์เพื่อรับการส่องกล้องcolonoscopy และวินิจฉัยเพิ่มเติมต่อไป
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลุวอ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ โดยวิธี FIT TESTปี 2568 ขึ้นมา เพื่อให้ได้รับการรักษาตั้งแต่เริ่มแรกและป้องกันที่ถูกต้องและทันท่วงที ลดอัตราการตายและการลุกลามของมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงได้ ถ้ารู้เร็วรักษาเร็ว และถูกวิธี ก็จะมีโอกาสหายมากขึ้นเพื่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ50-70 ปีมีความรุ้เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยวิธี FIT TEST
- เพื่อให้แกนนำสุขภาพ มีความรู้และทักษะการเก็บสิ่งส่งตรวจและวิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้(Fittest)ได้ถูกต้อง
- เพื่อให้ประชาชนที่มีผล Fittest เป็น Positive ได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจยืนยันและวินิจฉัย(การส่องกล้อง colonoscopyได้รับการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ แกนนำสุขภาพ ในการคัดกรองค้นหาความผิดปกติของมะเร็งลำไส้
- 2.อบรมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มเสี่ยงอายุ50-70 ปีในการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
180
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำสุขภาพ มีความรู้เกี่ยวกับการคัดกรองและทักษะการตรวจมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้อย่างถูกต้อง สามารถให้คำแนะนำเกี่ยวกับการตรวจมะเร็งลำไส้ได้
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 50-70 ปีมีความรู้และได้รับการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่อย่างสม่ำเสมอทุก 2 ปี
3.ประชาชนที่มีผล FITTEST เป็น POSITIVEได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจยืนยันและวินิจฉัย(การส่องกล้อง colonoscopyได้รับการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ50-70 ปีมีความรุ้เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยวิธี FIT TEST
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยง อายุ 50-70 ปี ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งโรคมะเร็งลำไส้โดยวิธี FIT TEST>ร้อยละ 50
15.00
50.00
2
เพื่อให้แกนนำสุขภาพ มีความรู้และทักษะการเก็บสิ่งส่งตรวจและวิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้(Fittest)ได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : แกนนำสุขภาพ มีความรู้และทักษะการเก็บสิ่งส่งตรวจและวิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้(Fittest)ได้ถูกต้องร้อยละ 80
50.00
80.00
3
เพื่อให้ประชาชนที่มีผล Fittest เป็น Positive ได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจยืนยันและวินิจฉัย(การส่องกล้อง colonoscopyได้รับการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนผล FITTEST เป็น POSITIVE ได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจยืนยันและวินิจฉัย(การส่องกล้อง colonoscopy) ร้อยละ 100
15.00
50.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
180
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
180
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ50-70 ปีมีความรุ้เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยวิธี FIT TEST (2) เพื่อให้แกนนำสุขภาพ มีความรู้และทักษะการเก็บสิ่งส่งตรวจและวิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้(Fittest)ได้ถูกต้อง (3) เพื่อให้ประชาชนที่มีผล Fittest เป็น Positive ได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจยืนยันและวินิจฉัย(การส่องกล้อง colonoscopyได้รับการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ แกนนำสุขภาพ ในการคัดกรองค้นหาความผิดปกติของมะเร็งลำไส้ (2) 2.อบรมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มเสี่ยงอายุ50-70 ปีในการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ โดยวิธี fit test ปี 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2490-1-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางเมธี มนุกูล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ โดยวิธี fit test ปี 2568 ”
ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางเมธี มนุกูล
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2490-1-06 เลขที่ข้อตกลง 18/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ โดยวิธี fit test ปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ โดยวิธี fit test ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ โดยวิธี fit test ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2490-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,065.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล มะเร็งลำไส้ใหญ่ในประเทศไทยเป็นโรคที่พบบ่อยเป็นอันดับ 3 ในเพศชาย และอันดับ 2 ในเพศหญิง (จากสถิติของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ) และในปัจจุบันอัตราการเกิดโรคมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยส่วนใหญ่ เมื่อมาพบแพทย์ก็มักพบโรคในระยะที่เป็นมากแล้วซึ่งทำให้มีโอกาสการเสียชีวิตสูง ด้วยปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงเพิ่มมากขึ้น เช่น การรับประทานอาหาร วิถีการดำเนินชีวิต และการถ่ายทอดทางพันธุกรรมที่กำลังเป็นปัญหาต่อการดำเนินชีวิตของคนในสังคม การตรวจคัดกรองเพื่อป้องกันความเสี่ยงโรคของโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงจึงเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อเพิ่มอัตราการตรวจให้ครอบคลุมมากขึ้น การตรวจเลือดแฝงในอุจจาระ ด้วยชุดตรวจ Fit Test ซึ่งเป็นวิธีการตรวจอุจจาระเพื่อหาเลือดแฝงที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ก็เป็นอีกวิธีที่สามารถตรวจคัดกรองความเสี่ยงของมะเร็งลำไส้ได้ในเบื้องต้น ซึ่งยิ่งได้รับการตรวจคัดกรองเร็ว ก็ยิ่งลดความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งลำไส้ หากเป็นแล้ว ก็ยิ่งเพิ่มโอกาสในการรักษา และลดค่าใช้จ่ายทางการแพทย์
จากการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปีงบประมาณ 2566.ในอัตราร้อยละ10 ของกลุ่มเสี่ยงชายและหญิง อายุ 50-70 ปีของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลุวอ จำนวน 50 คนพบผลผิดปกติ 6 คนคิดเป็นร้อยละ 12 ได้ส่งต่อไปรพ.นราธิวาสราชนครินทร์เพื่อรับการส่องกล้องcolonoscopy และวินิจฉัยเพิ่มเติมต่อไป โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลุวอ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ โดยวิธี FIT TESTปี 2568 ขึ้นมา เพื่อให้ได้รับการรักษาตั้งแต่เริ่มแรกและป้องกันที่ถูกต้องและทันท่วงที ลดอัตราการตายและการลุกลามของมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงได้ ถ้ารู้เร็วรักษาเร็ว และถูกวิธี ก็จะมีโอกาสหายมากขึ้นเพื่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ50-70 ปีมีความรุ้เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยวิธี FIT TEST
- เพื่อให้แกนนำสุขภาพ มีความรู้และทักษะการเก็บสิ่งส่งตรวจและวิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้(Fittest)ได้ถูกต้อง
- เพื่อให้ประชาชนที่มีผล Fittest เป็น Positive ได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจยืนยันและวินิจฉัย(การส่องกล้อง colonoscopyได้รับการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ แกนนำสุขภาพ ในการคัดกรองค้นหาความผิดปกติของมะเร็งลำไส้
- 2.อบรมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มเสี่ยงอายุ50-70 ปีในการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 180 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำสุขภาพ มีความรู้เกี่ยวกับการคัดกรองและทักษะการตรวจมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้อย่างถูกต้อง สามารถให้คำแนะนำเกี่ยวกับการตรวจมะเร็งลำไส้ได้
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 50-70 ปีมีความรู้และได้รับการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่อย่างสม่ำเสมอทุก 2 ปี 3.ประชาชนที่มีผล FITTEST เป็น POSITIVEได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจยืนยันและวินิจฉัย(การส่องกล้อง colonoscopyได้รับการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ50-70 ปีมีความรุ้เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยวิธี FIT TEST ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยง อายุ 50-70 ปี ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งโรคมะเร็งลำไส้โดยวิธี FIT TEST>ร้อยละ 50 |
15.00 | 50.00 |
|
|
2 | เพื่อให้แกนนำสุขภาพ มีความรู้และทักษะการเก็บสิ่งส่งตรวจและวิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้(Fittest)ได้ถูกต้อง ตัวชี้วัด : แกนนำสุขภาพ มีความรู้และทักษะการเก็บสิ่งส่งตรวจและวิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้(Fittest)ได้ถูกต้องร้อยละ 80 |
50.00 | 80.00 |
|
|
3 | เพื่อให้ประชาชนที่มีผล Fittest เป็น Positive ได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจยืนยันและวินิจฉัย(การส่องกล้อง colonoscopyได้รับการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรก ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนผล FITTEST เป็น POSITIVE ได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจยืนยันและวินิจฉัย(การส่องกล้อง colonoscopy) ร้อยละ 100 |
15.00 | 50.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 180 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 180 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ50-70 ปีมีความรุ้เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยวิธี FIT TEST (2) เพื่อให้แกนนำสุขภาพ มีความรู้และทักษะการเก็บสิ่งส่งตรวจและวิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้(Fittest)ได้ถูกต้อง (3) เพื่อให้ประชาชนที่มีผล Fittest เป็น Positive ได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจยืนยันและวินิจฉัย(การส่องกล้อง colonoscopyได้รับการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ แกนนำสุขภาพ ในการคัดกรองค้นหาความผิดปกติของมะเร็งลำไส้ (2) 2.อบรมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มเสี่ยงอายุ50-70 ปีในการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ โดยวิธี fit test ปี 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2490-1-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางเมธี มนุกูล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......