พัฒนาระบบการเข้าถึงการแพทย์ฉุกเฉินและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ชื่อโครงการ | พัฒนาระบบการเข้าถึงการแพทย์ฉุกเฉินและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น |
รหัสโครงการ | 68 – L8300 -1-06 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลแว้ง |
วันที่อนุมัติ | 21 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 15,050.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางศุภลักษณ์ จันทร์แก้ว |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 5.936,101.835place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 70 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ในปัจจุบันประเทศไทยได้มีการปฏิรูประบบสุขภาพ โดยมุ่งหวังให้ประชาชนได้รับการบริการสุขภาพที่ดี ครอบคลุมทุกประเภทของการบริการ รวมถึงการบริการในยามเจ็บป่วยฉุกเฉินหรือได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุและภัยพิบัติต่างๆ โดยจะต้องได้รับการดูแลช่วยเหลืออย่างทันท่วงที ตลอด 24 ชั่วโมง รวมถึงสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ได้กำหนดนโยบายการบริกาการแพทย์ฉุกเฉินอย่างชัดเจน ซึ่งระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินถือว่าเป็นเรื่องใหม่ที่ประชาชนคนไทยรับทราบข้อมูลยังไม่ทั่วถึง จึงมีการประชาสัมพันธ์ทุกรูปแบบและมีการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องจนปัจจุบันประชาชนเริ่มรู้จักและเรียกใช้ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินมากขึ้น ดังนั้นเพื่อเป็นการวางรากฐานและปลูกฝังค่านิยมจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการสร้างเครือข่าย และการอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไปให้มีความรู้เกี่ยวกับระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินตลอดจนการปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่ถูกต้องก่อนรถพยาบาลไปถึง รวมถึงเมื่อพบเห็นผู้ป่วยเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น สามารถช่วยนวดหัวใจได้ หน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉินและนิติเวช โรงพยาบาลแว้งจึงได้จัดโครงการประชาสัมพันธ์ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน1669 และการปฐมพยาบาลเบื้องต้น เชิงรุก โดยอบรมพัฒนาประชาชน อาสาสาธารณสุข ครูและนักเรียน ให้มีความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ซึ่งจะเป็นผู้ที่มีโอกาสทำความดีในการช่วยชีวิตบุคคลในครอบครัว และชุมชนต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินและสามารถเรียกใช้หมายเลขโทรศัพท์ ๑๖๖๙ ได้อย่างถูกต้อง อัตราป่วยประชาชนในพื้นทีตำบลแว้งรู้จักและเข้าใจระบบการแพทย์ฉุกเฉินและโทรเรียกเบอร์ 1669ในพื้นที่ตำบลแว้งเพิ่มขึ้นร้อยละ 80 |
||
2 | ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับการช่วยเหลือเบื้องต้นที่ถูกต้อง รวดเร็ว ปลอดภัย ประชาชนในพื้นทีตำบลแว้งสามารถช่วยชีวิตบุคคลในครอบครัว และชุมชนได้ถูกต้อง ครบถ้วน และให้การช่วยเหลือได้อย่างถูกต้องทันท่วงที |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 มี.ค. 2568 13:54 น.