โครงการรณรงค์ควบคุมเเละป้องกันโรคไข้เลือดออก
ชื่อโครงการ | โครงการรณรงค์ควบคุมเเละป้องกันโรคไข้เลือดออก |
รหัสโครงการ | L1527 - 01- 03 - 68 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาขาว |
วันที่อนุมัติ | 27 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 44,800.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาววาปี ชูเมือง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.811,99.618place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัญหาโรคติดต่อเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อมเป็นเหตุที่ทำให้เกิดโรคติดต่อหลายชนิด เนื่องจากเชื้อโรคจะมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมได้นานขึ้นเจริญเติบโตได้รวดเร็ว สามารถแพร่ระบาดได้ง่ายและเร็ว เช่น โรคติดต่อทางระบบหายใจ (ไข้หวัดใหญ่) โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ (ไข้เลือดออก) โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ (อุจจาระร่วง) และโรคติดต่ออื่นๆ (มือ,เท้า,ปาก,ฉี่หนู) โดยประชาชนจะต้องทราบถึงสาเหตุและแนวทางป้องกันโรคที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เพื่อให้ระมัดระวังและป้องกันปัจจัยเสี่ยงต่อโรค โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีโรคประจำตัว และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมและภัยสุขภาพของประชาชนในพื้นที่จะต้องรวดเร็วทันเหตุการณ์ จึงจะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อสุขภาพ วางแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ โดยการดำเนินงานในลักษณะ “ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ ร่วมประเมินผล และร่วมรับผิดชอบ” ในทุกระดับ เพื่อช่วยกันค้นหาปัญหา จึงจะสามารถแก้ไขต้นตอของปัญหาการเกิดโรค ประชาชนจะต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับบริบทและสภาพปัญหาของแต่ละพื้นที่ภายใต้ศักยภาพพื้นที่ของตนเอง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับให้ความสำคัญกับปัญหาสุขภาพที่แท้จริงของพื้นที่เป็นหลัก สามารถเชื่อมโยงผสมผสานแนวคิด องค์ความรู้เข้ากับบริบทของพื้นที่ จึงจะทำให้เกิดการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการในระดับพื้นที่อย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไปในอนาคต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาขาว เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคติดต่อ จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก เพื่อส่งเสริมแกนนำสุขภาพประจำบ้านและผู้สนใจสามารุป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ เพื่อพัฒนาศักยภาพทักษะส่วนบุคคลเสริมสร้างชุมชนให้เกิดความพร้อมในการเฝ้าระวัง และการสอบสวนโรค พร้อมทั้งเข้ามามีส่วนร่วมในการปองกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันควบคุมโรคติดต่อเเละภัยสุขภาพในชุมชน ร้อยละ 80 ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันควบคุมโรคติดต่อเเละภัยสุขภาพในชุมชน |
80.00 | |
2 | เพื่อพัฒนาศักยภาพเเกนนำสุขภาพประจำบ้าน ร้อยละ 80 เเกนนำสุขภาพประจำบ้าน ผ่านการอบรมพัฒนาศักยภาพ |
80.00 | |
3 | เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อในปี 2568 อัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อลดลงร้อยละ 50 |
50.00 | |
4 | เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในปี 2568 อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลกลง ไม่เกิน 50 ต่อเเสนประชากร |
50.00 |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | มี.ค. 68 | เม.ย. 68 | พ.ค. 68 | มิ.ย. 68 | ก.ค. 68 | ส.ค. 68 | ก.ย. 68 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | กิจกรรมพัฒนาศักยภาพเเกนนำประจำบ้านเเละผู้ที่สนใจ(24 มี.ค. 2568-30 พ.ค. 2568) | 3,900.00 | |||||||
2 | กิจกรรมประชาสัมพันธ์ป้องกันโรค ในพื้นที่เขตรับผิดชอบ 7 หมู่บ้าน(1 เม.ย. 2568-30 ก.ย. 2568) | 9,100.00 | |||||||
3 | กิจกรรมควบคุมป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ด้วยทรายที่มีฟอส สเปรย์ฉีดยุง เเละการพ่นหมอกควันในพื้นที่เขตรับผิดชอบ 7 หมู่บ้าน(1 เม.ย. 2568-30 เม.ย. 2568) | 31,800.00 | |||||||
รวม | 44,800.00 |
1 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพเเกนนำประจำบ้านเเละผู้ที่สนใจ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 70 | 3,900.00 | 0 | 0.00 | 3,900.00 | |
1 เม.ย. 68 - 30 พ.ค. 68 | การพัฒนาศักยภาพเเกนนำประจำบ้านเเละผู้ที่สนใจจำนวน 70 คน | 70 | 3,900.00 | - | - | ||
2 กิจกรรมประชาสัมพันธ์ป้องกันโรค ในพื้นที่เขตรับผิดชอบ 7 หมู่บ้าน | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 7 | 9,100.00 | 0 | 0.00 | 9,100.00 | |
1 เม.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 | ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ทั้ง 7 หมู่บ้าน | 7 | 9,100.00 | - | - | ||
3 กิจกรรมควบคุมป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ด้วยทรายที่มีฟอส สเปรย์ฉีดยุง เเละการพ่นหมอกควันในพื้นที่เขตรับผิดชอบ 7 หมู่บ้าน | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 31,800.00 | 0 | 0.00 | 31,800.00 | |
1 เม.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 | ควบคุมป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ด้วยทรายที่มีฟอส สเปรย์ฉีดยุง เเละการพ่นหมอกควันในพื้นที่เขตรับผิดชอบ 7 หมู่บ้าน | 0 | 31,800.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 77 | 44,800.00 | 0 | 0.00 | 44,800.00 |
1.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจโรคติดต่อเเละภัยสุขภาพในชุมชนในพื้นที่เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
2.เเกนนำสุขภาพประจำบ้านผ่านการอบรมพัฒนาศักยภาพร้อยละ 80
3.อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อลดลงจากปี 2567
4.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อเเสนประชากรเเละหมู่บ้าน/ชุมชน สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิดใน Generation ที่ 2
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 มี.ค. 2568 14:43 น.