directions_run
โครงการแพทย์แผนไทยเคลื่อนที่ สูงวัยสุขภาพดีด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
ชื่อโครงการ | โครงการแพทย์แผนไทยเคลื่อนที่ สูงวัยสุขภาพดีด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย |
รหัสโครงการ | 68-L2483-1-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนานาค |
วันที่อนุมัติ | 11 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤศจิกายน 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 34,900.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวฟัตวา ดอเลาะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลนานาค อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 160 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | สังคมไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุที่มีจำนวนและสัดส่วนมากขึ้น จากประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง | 0.00 | ||
2 | ผู้สูงอายุได้รับผลกระทบจากการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัย เกิดภาวะพึ่งพา ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ | 0.00 | ||
3 | โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคที่พบมากในผู้สูงอายุ จากการรายงานองค์การอนามัยโลก ปี พ.ศ. 2553 พบว่ามีจำนวนผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมทั่วโลกกว่า 400 ล้านคน | 0.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมได้รับการบำบัด รักษา และฟื้นฟูด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และลดปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะ ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการด้านการแพทย์แผนไทยด้วยสมุนไพรใกล้ตัว และลดปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะ |
0.00 | 0.00 |
2 | เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในพื้นที่และมีความรู้ในการใช้สมุนไพรมากยิ่งขึ้น ผู้สูงอายุสามารถใช้สมุนไพรในพื้นที่ เพื่อดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย |
0.00 | 0.00 |
3 | เพื่อบรรเทาอาการปวดเข่าแก่ผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมมีอาการปวดเข่าลดลง |
0.00 | 0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 34,900.00 | 0 | 0.00 | |
1 พ.ย. 67 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมอบรมให้ความรู้การส่งเสริมสุขภาพด้วยสมุนไพร การใช้สมุนไพรในพื้นที่มาดูแลตัวเองและครอบครัวได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย เช่น การรู้สรรพคุณของสมุนไพร การทำยาพอกเข่า ยาแช่มือแช่เท้า และให้ความรู้เรื่องกายบริหาร การบริหารแก้อาการโรคข้อเข่าเสื่อม และมณีเวช | 0 | 19,200.00 | - | ||
1 พ.ย. 67 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรม Work Shop การเรียนรู้และสาธิตการทำยาพอกเข่า ยาแช่มือแช่เท้า และให้บริการการพอกเข่า แช่มือแช่เท้า 4 วัน ทั้งหมด 4 หมู่บ้าน หมู่บ้านละ 40 คน | 0 | 15,700.00 | - |
- ผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมมีอาการปวดเข่าทุเลาลง การรักษาด้วยหัตถการด้านการแพทย์แผนไทยด้วยวิธีการพอกเข่าเป็นที่รู้จักแพร่หลายมากขึ้น และผู้สูงอายุมีทางเลือกในการรักษาอาการข้อเข่าเสื่อมเพิ่มขึ้น
- ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการด้านการแพทย์แผนไทยด้วยสมุนไพรใกล้ตัว และลดปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะ มีความรู้สืบถอด และอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 มี.ค. 2568 00:00 น.
project version 4.4.01 release 2022-02-13. ช่วยเหลือ