โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลลำสินธุ์
ชื่อโครงการ | โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลลำสินธุ์ |
รหัสโครงการ | 18 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรม SRRT ตำบลลำสินธุ์ |
วันที่อนุมัติ | 7 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 10,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายวิโรจน์ ทิพพลชัย |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางพัชรี น้อยเต็ม |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 2000 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อโดยมียุงลายเป็นพาหะ ที่สร้างความสูญเสียชีวิต ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจ เนื่องจากโรคนี้
มีแนวโน้มการระบาดทุกปีจากข้อมูลโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาตำบลลำสินธุ์ ปี 2567 ข้อมูล
ณ 22 พฤศจิกายน 2567 พบว่ามีการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 15 ราย(ข้อมูลจาก แพลตฟอร์ม
เฝ้าระวังโรคดิจิตัล) จึงเห็นได้ว่าโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นต่อเนื่อง และเกิดขึ้นตลอดทั้งปีโดยเฉพาะช่วงฤดูฝน
ดังนั้น การดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกให้ประสบความสำเร็จนั้น จำเป็นต้องระดมความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคและรณรงค์ให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออกและร่วมมือกันเฝ้าระวังป้องกัน เมื่อเกิดโรคต้องควบคุมโรคให้เร็วที่สุด
โดยอาศัยทีม SRRT ในการพ่นหมอกควันเพื่อป้องกันการระบาดของโรค ชมรม SRRT ตำบลลำสินธุ์ จึงจัดทำโครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลลำสินธุ์ ขึ้น เพื่อลดอัตราการป่วยและอัตราการป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนัก และร่วมมือกันกำจัดลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือน ชุมชนของตนเอง ร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ ส่งเสริมสนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมและดำเนินการควบคุมโรค
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 10,000.00 | 0 | 0.00 | |
24 มี.ค. 68 - 31 ส.ค. 68 | กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย | 0 | 1,200.00 | - | ||
31 มี.ค. 68 | กิจกรรมประชุมคณะทำงาน | 0 | 1,000.00 | - | ||
31 มี.ค. 68 - 31 ส.ค. 68 | กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย | 0 | 7,800.00 | - |
อัตราการป่วยและอัตราการตายด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง
ประชาชนมีความรู้และความตระหนัก ในการร่วมมือกันกำจัดลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือน ชุมชนของตนเองได้ รวมทั้งสามารถร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ
3.ประชาชน ชุมชน ร่วมกับทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 มี.ค. 2568 09:43 น.