กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการฝึกอบรมและทัศนศึกษาดูงานการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลประกอบ ประจำปี 2568 "กองทุนต้นแบบ"
รหัสโครงการ 62-L5202-10(4)-2
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักงานเลขาฯกองทุน
วันที่อนุมัติ 7 มีนาคม 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2568 - 30 เมษายน 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 31 พฤษภาคม 2568
งบประมาณ 100,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวธนัชชา โชติพนัง
พี่เลี้ยงโครงการ นายอะหมัด และสา
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.483,100.643place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2568 10 เม.ย. 2568 51,132.00
2 1 เม.ย. 2568 10 เม.ย. 2568 28,000.00
รวมงบประมาณ 79,132.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (79,132.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (100,000.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่หรือท้องถิ่น นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กรภาคีเครือข่ายในพื้นที่ เข้ามามีส่วนร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ โดยคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ สามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน โยมีกิจกรรมอันหลาดหลาย ที่ร่วมกันคิดค้น สร้างสรรค์จากกลุ่มมประชาชน หน่วยบริการปฐมภูมิในพื้นที่ รวมทั้งศูนย์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการดูแลส่งเสริมสุขภาพประชาชนในพื้นที่ ซึ่งมีการดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคเชิงรุกในชุใชน ขณะเดียวกันก็เน้นการส่งเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพในกลุ่มโรคเรื้อรังที่สำคัญ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง อัมพฤกษ์ อัมพาต เป็นต้น ทำให้เกิดเป็นนวัตกรรมที่นำไปสู่การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกิดความร่วมมือดูแลที่ จะช่วยเหลือดูแลกันด้านสุขภาพร่วมกับหน่วยงานด้านสาธารณสุข มีการสนับสนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฝฝ่ายปกครองให้แก่คนในท้องถิ่นของตนเองมากขึ้น และจากผลการดำเนินงานที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่า กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลประกอบ ได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ ได้ดำเนินการอันเป็นประโยชน์อย่างมากกับประชาชนในพื้นที่โดยส่วนรวม ดังนั้น การดำเนินกิจกรรมของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่หรือท้องถิ่น ให้ได้ผลดีและเกิดประโยชน์กับประชาชนมากที่สุด ดังเช่นในหลายท้องถิ่นที่มีการดำเนินงาน การบรหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลประกอบ จึงเห็นความสำคัญของการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน อนุกรรมการกองทุน องค์กรภาคีต่างๆที่ต้องการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลประกอบ โดยสนับสนุนให้มีการศึกษาดูงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ในท้องถิ่นอื่นที่มีการบริหารจัดการหรือดำเนินกิจกรรมดีเด่น เพื่อนำมาเป็นแนวทางมาปรับใช้ในการพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้เหมาะสม และสอดคล้องกับบยริบทของประชาชนในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลประกอบ ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และแนวทางการขอรับการสนับสนุนงบประมาณ

หน่วยงาน/องค์กร ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนมากขึ้น

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

9.1 หน่วยงาน/องค์กร ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนมากขึ้น 9.2 หน่วยงาน/องค์กร มีความเข้าใจในหลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติของกองทุนมากขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 มี.ค. 2568 10:28 น.